Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นวัตกรรมทางการพยาบาลสาธารณสุข - Coggle Diagram
นวัตกรรมทางการพยาบาลสาธารณสุข
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1-12
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่7 (พ.ศ. 2535-2539)
เน้นการเจริญต้นเศรษฐกิจและการกระจายรายได้สู่ภูมิภาค ปัญหาสิ่งแวดล้อม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่8 (พ.ศ. 2540-2544)
เน้นการพัฒนาศักยภาพคนด้านสุขภาพและพลานามัย ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคนอย่างเป็นองค์รวมทั้งกาย ใจและสติปัญญา
เน้นการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทางด้านสาธารณสุข
การปฏิรูประบบการบริหารจัดการด้านสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่6 (พ.ศ. 2530-2534)
แนวโน้มไปสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรมมีการส่งเสริมเพื่อให้ไทยกลายเป็นหนึ่งในประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NICs, Newly Industrialized Countries)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529)
เน้นการแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาชนบท ส่งเสริมบทบาทและความร่มมือจากภาคเอกชน เน้นความสมดุลระหว่างการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9 (พ.ศ. 2545-2549)
รัฐบาลประกาศนโยบายสุขภาพแห่งชาติ(30บาทรักษาทุกโรค) ปรับระบบบริการเป็นการบริการปฐมภูมิ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่4 (พ.ศ. 2520-2524)
เน้นการขยายการผลผลิตค้นการเกษตร
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที10 (พ.ศ. 2550-2554)
ยึดทางสายกลาง มีความสมดุลพอดี
รู้จักพอประมาณ การมีเหตุผล มีระบบภูมีคุ้มกัน
รู้เท่าทันโลก มีคุณธรรมจริยธรรม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่3 (พ.ศ. 2515-2519)
ให้ความสำคัญในการให้บริการแบบผสมผสานเน้นการอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที11 (พ.ศ. 2555-2559)
กำหนดเป็นวิสัยทัศน์ปิ พ.ศ. 2570 ซึ่งกำหนดไว้ว่า "คนไทยภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีมิตรไมตรีบนวิถีชีวิตแห่งความพอเพียง ยึดมั่นในวัฒนธรรมประชาธิปไตยและหลักธรรมาภิบาล
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่2 (พ.ศ. 2510-2514)
เน้นการสร้างสาธารณูปโภค บริการสาธารณสุขในระดับอำเภอและระดับตำบล
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่12 (พ.ศ . 2560-2564)
ความสุขอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1(พ.ศ. 2503-2509)
เน้นการขยายสถานบริการสาธารณสุขเพื่อให้บริการพื้นฐานด้านสุขภาพแก่ประชาชน
นวัตกรรมสาธารณสุขไทยสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า
แนวทางการพัฒนานวัตกรรมสาธารณสุข
คิดรูปแบบการพัฒนานวัตกรรมสาธารณสุข
รูปแบบที่ 3 ใช้ความรู้เดิมวิธีการใหม่(ใหม่จากที่อื่น)
รูปแบบที่ 4 ใช้ความรู้ใหม่วิธีการเดิม
รูปแบบที่ 5 ให้ความรู้ใหม่วิธีการใหม่
รูปแบบที่ 2 ใช้ความรู้เดิมวิธีการใหม่(เก่าจากที่อื่น)
รูปแบบที่ 1 ใช้ความรู้เดิมวิธีการเดิม
ดำเนินการตามวิธีคิดรูปแบบการพัฒนานวัตกรรมสาธารณสุข
กำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนานวัตกรรมสาธารณสุข
การพัฒนานวัตกรรมกระบวนการ(Process Innovation)
Signal Process - Development of Strategic Concept - Search & Exploration - Implementation- Learning Process
ลักษณะของความเป็นนวัตกรรมสาธารณสุข
บริการที่แสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ในการให้บริการ
บริการที่ใช้การประดิษฐ์อุปกรณ์ช่วยให้การให้บริการ
เป็นบริการที่นำวิธีการจัดการระบบมาใช้ในการประเมินกระบวนการและผลลัพธ์ก่อนและหลังการเปลี่ยนแปลง
บริการเดิมหรืออุปกรณ์เดิมที่มีอยู่มาปรับเปลี่ยนปรับปรุงดัดแปลงต่อยอดจากของเดิม
การให้บริการแบใหม่หรือมีการคิดดันวิธีการให้บริการใหม่และใช้ได้จริง
วิวัฒนาการของสาธารณสุขไทย
พ.ศ. 2526 โครงการกองทูนบัตรสุขภาพเริ่มทดลองใช้ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
พ.ศ. 2528 เพื่อพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข(Basic Health Services = BHS หรือ Health infrastructure = HIS) ให้เป็นผู้สนับสนุนการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐานและรองรับบริการสาธารณสุขและมีการพัฒนาระบบส่งต่อ (Referral System) จัดตั้ง โรงพยาบาลสาขา (Extended OPD.)
พ .ศ. 2523 ประเทศไทยลงนามในกฎบัตรเพื่อการพัฒนาสาธารณสุข โดยสนับสนุนการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care = PHC)
พ.ศ. 2535-2539 -ดำเนินการโครงการทศวรรษแห่งการพัฒนาสถานีอนามัย (กสอ.)
พ .ศ. 2520-2524 เป็น จุดเริ่มต้นในการพัฒนา 3 ก.
พ.ศ. 2536-2537 โดยจัดตั้งศูนย์สาธารณสุขมูลฐานในชุมชน (ศสมช.) โครงการปรับโฉมสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ
โดยหลัก 3 และส่งเสริมการแพทย์พื้นบ้าน
พ.ศ. 2507-2509 การดำเนินโครงการสารภีโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพอนามัย ในรูปของผู้สื่อข่าวสาธารณสุข (ผสส.) อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และกระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. 2540-2544 เป็นปีแห่งการบรรลุคุณภาพชีวิตของประชาชนในชาติเน้นการดำเนินการสาธารณสุขเชิงรุก
แนวคิด ความหมาย ความสำคัญ ประเภทของนวัตกรรมสาธารณสุข
ความสำคัญ
เกิดการร่วมมือของหุ้นส่วนทางสุขภาพ
ลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ลดค่าใช้จ่ายหรือลดการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง
ช่วยให้พยาบาลได้แสดงศักยภาพของตนเองในการคิดค้นและพัฒนาตนเอง
สร้างความรู้ใหม่ในการให้การบริการการพยาบาล
เพื่อพัฒนาความรู้
พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการบริการพยาบาล
กระบวนการทางนวัตกรรม (Innovation Process)
แนวคิดใหม่ ๆ (Idea generation) ที่ได้รับโอกาสให้พิจารณา (Opportunity recognition) และมีการประเมินความเป็นไปได้ (Idea evaluation) จนได้รับการพัฒนา (development) และนำมาพัฒนาเป็นระบบในเชิงพาณิชย์ได้(Commercialization)
ความหมาย
นวัตกรรม คือการพัฒนาสิ่งต่างๆไม่ว่าจะเป็นความรู้หรือสิ่งประดิษฐ์จากความรู้ใหม่หรือความรู้เดิมเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการพัฒนา
บทบาทพยาบาลกับนวัตกรรมทางการพยาบาลสาธารณสุข
ด้านเป็นผู้ใช้นวัตกรรม
ศึกษานวัตกรรมให้เข้าไถ่องแท้ ถึงข้อดี ข้อเสียและเตรียมเจ้าหน้าที่ให้เข้าใจนวัตกรรมให้ถูกต้อง
ด้านการประเมินผล
นำมาแก้ไข ปรับปรุง พัฒนาในชั้นตอนต่อ ๆ ไป ควรติดตาม ประเมินผลนวัตกรรมแต่ละอย่าง
ด้านคิดค้นนวัตกรรม หรือวางแผนใช้นวัตกรรม
มีส่วนร่วมในการคิดค้นนวัตกรรมสาธารณสุขใหม่ๆ หรือร่วมว่างแผน