Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การสร้างหนังสือสำหรับเด็ก - Coggle Diagram
บทที่ 6 การสร้างหนังสือสำหรับเด็ก
วิธีการสร้างหนังสือสำหรับเด็กในปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 3 ลักษะกว้างๆคือ
2.หนังสือการ์ตูน ทีใช้ภาพในการดำเนินเรื่อง ภาพที่ใช้ก็เป็นภาพการ์ตูน
3.หนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านต่างๆ มีการใช้ภาพเป็นส่วนประกอบเพื่อช่วยอธิบายเนื้อเรื่อง
1.หนังสือสำหรับเก็กที่เน้นด้านเนื้อเรื่อง การใช้ภาษา แนวคิว หรือทัศนะบางอย่างที่ต้องปลูกฝังให้เกิดขึ้นกับตัวเด็ก
หลักเกณฑ์ในการสร้างหนังสือสำหรับเด็ก
4.ตัวละคร สิ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับหนังสือเด็กคือ ตัวละคร เพราะจะทำให้หนังสือเป็นเรื่องเป็นราว สร้างรูปธรรมให้เกิดขึ้น ทำให้เรื่องสนุกสนาน ชวนอ่าน
6.การใช้ภาษาสำหรับเด็กเล็กๆส่วนมากจะยังไม่มีคำสันทัดจัดเจนในการอ่านและจดจำคำและความหมายของคำซึ่งตนเพิ่วฃงเริ่มพบและเริ่มหัดจดจำ
3.ขนาดความยาว เด็กๆไม่มีความอดทนที่จะทำอะไรนานๆ ด้วยเหตุผลนี้เรื่องสำหรับเด็กจะต้องเริ่มเรื่องทันทีตั้งแต่คำแรก อย่ายืดยาดเยิิ่นเย้อ ดำเนินเรื่องทันใจและอย่างเรื่องให้ยาว
5.ชื่อเรื่องเป็นเรื่องที่พิถีพิถัน เพราะเป็นด่านแรก ที่เด็กจะหยิบหนังสือนั้นขึ้นมาอ่านหรือไม่ ดังนั้นหนังสือสำหรับเด็กควรมีลักษณะที่น่าสนใจ
2.เนื้อเรื่องในหนังสือสำหรับเด็ก เนื้อเรื่องนับว่ามึควาสำคัญมาก มีเนื้อหา สาระ ความคิด ก่อนลงมือเขียนต้องอ่สนเรื่องดีๆ เพื่อศึกษาหนังสือดีๆเหล่านี้มีลักษณะอย่างไรจึงจะทำให้ได้รับคำชมเชยและยกย่องและเด็กๆชอบอ่านหนังสือผลงานของผู้อื่นจะทำให้เกิดความคิด
7.ตัวอักษรหรือตัวหนังสือเป็นส่วนสำคํบของหนังสือสำหรับเด็ก เพราะมีผลต่อสัมผัสทางสายตา ความพอใจ ความสนใจ และความเข้าใจ
1.นักเขียนหนังสือสำหรับเด็ก การเป็นนักเขียนสำหรับเด็ก ต้องมีลักษณะหลายประการที่แตกต่างไปจากนักเขียนหนังสือผู้ใหญ่
8.ภาพเป็นสิ่งสำคัยในการจูงใจให้เกิดการรับรู้ เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจอย่างรวดเร็ว
การแบ่งลักษณะการเขียนภาพประกอบแบ่งออกเป็นแขนงใหญ่ๆมี2ประเภท
2.ภาพวิจิตร แบบจินตนาการ
ช่างเขียนมีความเสรีที่จะเขียนภาพในฝันให้ออกไปเป็นภาพให้กลมกลืนกับท้องเรื่องนั้น
1.ภาพวิจิตร แบบสมจริง
ผู้เขียนต้องอ่านต้นฉบับอย่างละเอียดถี่ถ้วน ตลอดจนสันเดือนปีที่ผู้ประพันธืระบุไว้ในเรื่อง
ขั้นตอนในการลงมือสร้างหนังสือสำหรับเด็ก
4.ตั้งจุดมุ่งหมายว่าจะเขียนหนังสือประเภทใด แนวใด สำหรับเด็กระดับใด
6.เรียบเรียงเรื่องที่จะเขียนตามโครงเรื่องที่วางไว้ โดยจะเขียนเป็นร้อยแก้ว หรือ ร้อยกรอง
3.ศึกษาหนังสือสำหรับเด็กหรือพิมพ์ออกจำ หรือเผยแพร่จากสำนักพิมพ์
5.ตั้งชื่อเรื่องและวางโครงเรื่อง โดยกำหนดโครงเรื่องเป็นหัวข้อใหญ่
2.ศึกษาเกี่ยวกับความรู้ หลักการ ทฤษฏีในการสร้างหนังสือสำหรับเด็กจากตำรา บทความ เอกสารสัมนา
7.การจัดหน้า หรือดัมมี่ โดยนำเนื้องเรื่องที่เรียบเรียง แล้วมาจัดเป็นตอนๆ ตอนละหน้า
1.เกิดแรงบันดาลใจ เกิดความคิด อยากเขียนหนังสือสำหรับเด็กขึ้นมาสักเล่มหนึ่ง
8.ทำรูปเล่มลำรองที่สมบูรณ์ตั้งแต่ปกถึงหลังปกว่าจะวางส่วนต่างๆอย่างไร