Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาด้วยยาทางจิตเวช (Psychopharmacology) - Coggle Diagram
การรักษาด้วยยาทางจิตเวช (Psychopharmacology)
การรักษาจิตเวช
1.มีผลดีและรวดเร็ว ใช้กับระยะรุนแรง เช่น พฤติกรรมก้าวร้าว, คลุ้มครั่ง,ซึมเศร้ารุนแรง
2.อาการ EPS คือ การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ อยู่นิ่งไม่ได้ เคลื่อนไหวตลอดเวลา เดินตัวแข็งทื่อ มือสั่น เป็นต้น
3.แบ่งเป็น 2 ด้าน การรักษาด้านจิตสังคมและการรักษาด้านร่างกาย
1.ยารักษาโรคจิต(Antipsychotic-drugs/major-thanquillizers)
ใช้รักษาอาการโรคจิต (Psychosis)
รักษาอาการทางจิตเวชที่เกิดจากพยาธิสภาพทางกาย
สามารถควบคุมอาการของโรคได้ดีขึ้น
ช่วยให้ผู้ป่วยปรับตัวได้มากขึ้น
สามารถดำรงในสังคมได้
ข้อบ่งใช้
โรคจิตเภท(Schizophrenia)
โรคจิตอารมณ์(Schizoaffective disorder)
โรคจิตจากภาวะทางกาย(Organic psychosis)
โรคจิตที่เกิดในบางช่วงของโรคอารมณ์แปรปรวนทั้ง
โรคอารมณ์สองขั้วระยะคุ้มคลั่ง และโรคซึมเศร้า
รักษาอาการ Agitationในผู้ป่วย Alzheimer และBipolar-disorder
รักษาอาการก้าวร้าวในผู้ป่วยสมองเสื่อมและผู้ป่วยDelirium
Atypical antipsychotic drugs หรือ Serotonin-dopamine Antagonists(SDA)
1.ออกฤทธิ์ปิดการจับของSerotoninและDopamineจึงเพิ่มประสิทธิภาพการรักษากลุ่มอาการด้านลบและด้านกระบวนการคิดได้ดีกว่ากลุ่มDA
2.ในขณะที่รักษากลุ่มอาการด้านบวกได้ดีเท่าๆกันแต่กลุ่มSDAมีผลข้างเคียงน้อยกว่า
3.มีอาการEPSต่ำมาก
4.ผลข้างเคียงที่สำคัญของยากลุ่มSDA- น้ำหนักขึ้น
กลุ่มยา Dibenzodiazepine
Clozapine
มีประสิทธิภาพสูงกว่ายากลุ่มเดิม/รักษาอาการด้านบวก ลบได้ดี
มีPotency ต่ำต้องใช้ยาขนาดสูง
EPSต่ำมาก
ผลข้างเคียงที่พบ ง่วงซึม น้ำลายมาก ตาพร่า เหงื่อออกมาก คลื่นไส้อาเจียน-ท้องผูก น้ำหนักเพิ่ม ความดันต่ำเสี่ยงต่อการชัก
อาการที่รุนแรงคือความดันผิดปกติของระบบเลือดAgranulocytosis
การตอบสนองของยาใช้เวลา4-6เดือน(ช้ากว่ายาอื่น)
กลุ่มยา Benzisoxazole
Risperidone
ประสิทธิภาพสูงกว่ายากลุ่มเดิม/รักษาอาการด้านบวก,ลบได้ดี
มีPotencyสูง
ออกฤทธิ์เร็วและมีฤทธิ์อยู่นาน24ชม.จึงให้ยาเพียงวันละ1-2ครั้ง
EPSต่ำที่พบคือAkathisia
Typical antipsychotic drugs หรือ Dopamine antagonists(DA)
กลไกการออกฤทธิ์
1.ยับยั้งการจับของ Dopamineทำให้Dopamineลดลง
2.Dopamineในส่วนของ Mesolimbic และ Mesocortical ถูกยับยั้งทำให้ถูกรักษากลุ่มอาการด้านบวก(Positive-symptoms)และกลุ่มอาการด้านลบ (Negative-symptoms)ของผู้ป่วยได้
3.เมื่อDopamine receptor ถูกยับยั้งเกิดการหดเกร็งของกล้ามเนื้ออยู่นิ่งไม่ได้เคลื่อนไหวตลอดเดินตัวแข็งทื่อมือสั่นๆเป็นผลข้างเคียงของยาExtrapyramidal symptoms(EPS) 2กลุ่ม1.Phenothiazine 2.Butyrophenone
กลุ่มยา
Phenothiazine
Chlorpromazine(CPZ)
มีPotencyต่ำต้องใช้ยาขนาดสูง
ยาออกฤทธิ์หลังรับประทานอาหาร30-60นาที
เกิดEPSแต่ไม่มีอาการtardive-dyskinesia
พบอาการง่วงนอนปากแห้งเนื่องจากมีAntihistamine-effectsและAnticholinergic-effectsสูง
Thioridazine
มีPotencyต่ำมีฤทธิ์ SedativeและAntipsychoticปานกลาง
EPSต่ำกว่า Chlorpromazine
Perphenazine
มีPotencyปานกลางมีฤทธิ์ Sedative ต่ำมีฤทธิ์Antipsychoticสูง
EPSสูงกว่า Chlorpromazine
Trifluoperazine
มีPotencyสูง
EPSสูงมีฤทธิ์ Sedativeต่ำ และ Anticholinergic effects ต่ำ
Fluphenazine
มีPotencyสูง มีฤทธิ์ Sedative ต่ำ มีฤทธิ์Antipsychoticสูง
ออกฤทธิ์นานนิยมฉีดเข้ากล้ามเนื้อทุก 1เดือน
ยาจะออกฤทธิ์ในเวลา 1ชม.หลังฉีด
อาการทางจิตจะสงบลงภายใน1-2wk.
ฤทธิ์ยาอยู่นาน 2-6 wk. เป็น Long-acting
EPSสูงกว่า Chlorpromazineมีอาการง่วงนอนและ Anticholinergic-effectsต่ำ
กลุ่มยา Butyrophenone
Haloperidol
มีPotencyสูงมีฤทธิ์ Sedativeต่ำ
กลไกคล้ายกับPhenothiazineแต่มีประสิทธิภาพแรงกว่าChlorpromazine
หลังได้รับยา3wk. ผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้น
EPS สูงกว่าการใช้ยากลุ่มPhenothiazineที่พบบ่อยคือการเคลื่อนไหวซ้ำโดยไม่ได้ตั้งใจผู้ป่วยจะ
แสดงอาการเคี้ยวปากดูดริมฝีปากเดินตัวเอียง(Tardive-dyskinesia)
ไม่ค่อยทำให้ง่วงเพราะมี Anticholinergic-effectsต่ำ
ผลข้างเคียง
Extrapymidal-symptoms(EPS)
Acute-dystonia
Akathisia
Parkinsonism
Tardive-dyskinesia
Neuroleptic-malignant-syndrome(NMS)
Anticholinergic-side-effects
Adrenergic-side-effects
Hepatic-effects
Endocrine-effects
skin-reaction
Hematologic-effects
Effect-on-seizure-threshold
Ocular-effects
การพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบถึงความจำเป็นที่ต้องรับประทานยา
สังเกตและประเมินผลภายกลังการให้ยา
การเตรียมยาฉีด ผู้เตรียมต้องหลีกเลี้ยงการแตะต้องยา เพราะระคายเคืองต่อผิวที่สัมผัสได้
ก่อนให้ยา Chlorpromazine ควรวัดความดันโลหิต ก่อนและหลังให้ทุกครั้ง
เกิดอาการ Anticholinergic effects ให้การพยาบาลตามปัญหา เพื่อลดอาการให้น้อยลง
หากพบอาการข้างเคียงอื่นๆ ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย ให้รีบรายงานแพทย์
ควรรับประทานยาลดกรด 2ชั่วโมง ก่อนรับประทานยาจิตเวช
3.ยาคลายกังวล (Antianxiety drugs/Minor tranquillizers)
โรควิตกกังวลทั่วไป
โรคประสาทวิตกกังวลรุนแรง
อาการกลัวการเข้าสังคม
อาการวิตกกังวลจากสถานการณ์
อาการนอนไม่หลับ โดยใช้ยาในระยะสั้นๆ
อาการชัก ทำให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย
อาการเพ้อและสั่น
อาการถอนยาจากการงดดื่มสุรา หรือขาดสารเสพติดต่างๆ
กลไกการออกฤทธิ์
ยากลุ่ม benzodiazepines จะไปออกฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง โดยยับยั้งและปิดกั้น GABA (Gamma Amino Butyric Acid) บริเวณ limbic system และ subcortical ทำให้สมองส่วนที่รับความรู้สึกถูกกด ทำให้การเคลื่อนไหวช้า ง่วงนอน ยากลุ่มนี้จะทำให้ช่วยหลับได้ ผู้ป่วยสงบ
ตัวอย่างยา
Diazepam มีฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อสูงและลดความวิตกกังวล
Alprazolam มีคุณสมบัติคล้าย Diazepam แต่มีฤทธิ์แรงกว่า 10 เท่า มีฤทธิ์ต้านเศร้าร่วมด้วย
Lorazepam รักษาอาการนอนไม่หลับ เนื่องจากวิตกกังวลร่วมกับอาการเศร้า มีฤทธิ์นานกว่า Diazepam
Midazolam เป็นยาคลายกังวลที่มียานอนหลับ มีประสิทธิภาพสูง ออกฤทธิ์เร็ว มีฤทธิ์คลายกังวล คลายกล้ามเนื้อ ช่วยให้นอนหลับ
ผลข้างเคียง
ง่วงนอน ปวดศรีษะ เวียนศรีษะ สับสน มึนงง มักเกิดขึ้นใน 2-3 ชั่วโมงแรงหลังทานยา
แขนขาไม่มีแรง เดินเซ
หลงลืมเหตุการณืช่วงใกล้ๆ ที่เกิดขึ้นก่อนให้ยา
ทำให้เกิดอาการดื้อยา และติดยาได้ หากใช้เป็นเวลานาน
สับสน ก้าวราว ตื่นเต้น
การพยาบาล
สังเกตอาการข้างเคียง เช่น ง่วงซึม เวียนศรีษะ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
สังเหตผลข้างเคียงของยาที่เกิดขึ้น เช่น อาการง่วงนอนมาก ความดันโลหิตต่ำ ปวดตำแหน่งที่ฉีดยา ผิวหนังเป็นผื่น และอาการparadoxical excitement
ควรจัดให้ผู้ป่วยรับประทานยยาก่อนนอนเพื่อส่งเสริมการนอนของผู้ป่วยให้ดีขึ้น
ถ้าลืมรับประทานยา ให้รับประทานทันทีที่นึกได้ ไม่ควรรับประทานยาเป็น 2 เท่าในแต่ละมื้อ
ระมัดระวังการใช้ยา โดยไม่ควรใช้ในหญิงตั้งครรภ์ โดยเฉพาะ diazepam เนื่องจากสามารถผ่านทางน้ำนมได้
แนะนำให้รับประทานผัก ผลไม้ ดื่มน้ำให้เพียงพอ และออกกำลังกาย
แนะนำผู้ป่วยที่ติดยาหรือใช้ยาเป็นเวลานาน ไม่ให้หยุดยาเองทันที ควรให้แพทย์เป้ฯผู้ลดยาให้
2.ยารักษาอาการซึมเศร้า
ข้อบ่งใช้
โรคซึมเศร้า (Major depressive disorder)
โรคอารมณืสองขั่ว ระยะซึมเศร้า (Bipolar disorder depressed type)
โรควิตกกังวล (Anxiety disorder)
โรควิตกกังวลที่เกิดภายหลังการเผชิญเหตุการณืรุนแรงในชีวิต (Posttraumatic stress disorder: PTSD)
โรคบูลิเมีย (Bulimia nervosa)
อาการปวดทางกายที่มีสาเหตุจากปัญหาด้านจิตใจ(Pain disorder) โดยเฉพาะอาการปวดเรื้อรัง(Chronic pain)
อาการซึมเศร้าที่พบร่วมกับโรคทางจิตเวชอื่นๆ
กลุ่มที่ 1 Monoamine Oxidase Inhibitors (MAOIs)
กลไกอารกออกฤทธิ์
ยับยั่งเอนไซม์ Monoamine Oxidase ที่ใช้เผาผลาญ amine neurotransmitters ทำให้ปริมาณ monoamine เพื่มขึ้น
ระดับ serotonin, norepinephrine และ dopamine ในสมองสูงขึ้น
Cardiovascular effects
Postural hypotension พบบ่อยที่สุด โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ
Sedative and weight gain
อาการง่วงนอน และนำหนักเพิ่มขึ้น
Sexual side effects
พบในผู้ป่วยที่ได้รับยาในปริมาณที่สูง
อาจจะมี impotence และAnorgasmia
Hypertensive crisis
เกิดความดันโลหิตสูงมากอย่างกะทันหัน ผู้ที่รับประทานอาหารที่มี tyramine สูง จะมีฤทธิ์มาก
Precipitation of mania
ยาอาจกระตุ้นให้เกิดอาการ mania ในผู้ป่วย bipolar disorder
การพยาบาล
กลุ่มที่ 2 Tricyclic Antidepressants (TCAs)
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้งการเก็บคืนของ serotonin และ norepinephrine
เข้าไปในปลายประสาทส่วนกลาง ทำให้ มีการเพิ่มขึ้น จึงยกระดับอารมณ์ให้ดีขึ้น
ตัวอย่างยา
Amitriptyline
มีฤทธิ์ทำให้สงบและหลับสูง
Imipramine
มีฤทธิ์ทำให้สงบและหลับค่อนข้างสูง
Nortriptyline
มีฤทธิ์ทำให้สงบและหลับต่ำ
ผลข้างเคียง
Anticholinergic effects
Sexual side effects
Cardiovascular effects
Weight gain
Central nervous system effects
Antihistamine effects
กลุ่มที่ 3 Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRIs)
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้งการเก็บกลับคืนเฉพาะ serotonin ทำให้ serotonin เพิ่มขึ้น ทำให้อามณ์ดีขึ้น
ตัวอย่างยา
Fluoxetine ออกฤทธิ์ช้า เห็นผลการรักษาเมื่อใช้ยา 2-3 สัปดาห์
Paroxetine มีฤทธิ์แรงที่สุดในกลุ่ม SSRIs อาการข้างเคียง ปากแห้ง ง่วง สั่น
Sertraline ข้อดี มีปฏิกิริยากับยาอื่นน้อย มีฤทธิ์น้อยที่สุดในกลุ่ม
ผลข้างเคียง
ผลต่อสมอง มึนงง ง่วงนอน นอนไม่หลับ ยาบางตัวอาจะทำให้นอนหลับ
ปวดศรีษะ
น้ำหนัดลด
ความต้องการทางเพศลดลง เสื่อมสรรถภาพทางเพศ
Serotonin syndrome เกิดจากมี serotonin
กลุ่มที่ 4 New Generation
เป็นยารักษาอาการซึมเศร้ากลุ่มใหม่
Mianserin โรคซึมเศร้า มีปัญหาการนอน มีอาการ ง่วงซึม ปวดศรีษะ หน้ามืดเมื่อลุกช่วงแรก
Tianeptine โรคซึมเศร้าที่มีความวิตกกังวลร่วมด้วย
Trazodone โรคซึมเศร้า มีปัญหาการนอน มีอาการปากแห้ง คอแห้ง ง่วงซึม
Mirtazapine Pain โรคซึมเศร้า มีปัญหาการนอน มีอาการปากแป้ง ง่วงซึม เจริญอาหาร น้ำหนักเพิ่ม
การพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบว่า ยาจะให้ผลในการรักษาหลังจากรับประทานไปแล้ว 2-3 สัปดาห์
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบอาการข้างเคียงของยา และวิธีการปฏิบัติตนเมื่อเกิดอากรข้างเคียงของยา
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่า แพทย์จะแบ่งยาให้รับประทานเป็นหลายมื้อ เพื่อลดอาการข้างเคียงของยา
ตรวจสัญญาณชีพอย่างสม่ำเสมอ เพื่อประเมินความดันโลหิตต่ำ
ให้หลีกเลี่ยงการใช้สายตาเมื่อมีอาการตาพร่ามัว
ให้จิบน้ำบ่อยๆ และรับประทานอาหารที่มีกากใย
ให้ความรู้เรื่องการควบคุมน้ำหนักและชั่งน้ำหนักผู้ป่วยทุกวัน
4.ยาลดอาการข้างเคียงของยารักษาโรคจิต
(Anticholinergic drugs/Antiparkinson drugs)
ข้อบ่งใช้
ใช้ยานี้เพื่อป้องกันและลดอาการข้างเคียงโดยเฉพาการ EPS ที่เกิดจากการใช้ยารักษาโรคจิต
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้งและปิดกั้น dopamine receptor ในส่วนสมองที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว
ข้อควระวัง
ไม่ควรใช้ยานี้ในผู้ป่วย gluacoma, myasthenia gravis และผู้ป่วย prostatic hypertrophy
ตัวอย่างยา
Trihexyphenidyl ใช้ควบคุมอาการ EPS ได้ผลดีกับ tremor และต้านอาการcholinergic
Benztropine เป็น cholinergic blocking และ antiparkinsonism แต่มีฤทธิ์ข้างเคียงมาก
Diphenhydramine เป็น antihistamine และ antiparkinsonism
ผลข้างเคียง
Anticholinergic effects
คลื่นไส้ ปั่นป่วยในท้อง
Sedation, Drowsiness, Dizziness
Orthostatic hypotension
Anticholinergic delirium
การพยาบาล
ให้ผู้ป่วยรับประทานยาพร้อมอาหาร หรือหลังอาหารทันที เพื่อป้องกันการระคายเคืองในกระเพาะอาหาร
แนะนำให้ดื่มน้ำ จิบน้ำบ่อยๆ อมลูกกวาด อมน้ำแข็ง เพื่อป้องกันปากแห้ง
รับประทานอาหารที่มีกากใย
ตรวจสอบสัญญาณชีพอย่างสม่ำเสมอ และความสมดุลของน้ำ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าอาการต่างๆเป็นผลข้างเคียงของยา ไม่เป็นอันตราย
ถ้าลืมรับประทานยา แนะนำให้รับประทานยาทันทีเมื่อนึกได้
ระวังอุบัติเหตุ ให้ผู้ป่วยสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสายตาในรายที่มีอาการตาพร่ามัว และง่วงซึม
5.ยาควบคุมอารมณ์(Mood stabilizing drugs)
ยาควบคุมอารมณ์เป็นยาที่ใช้รักษา bipolar disorderโดนเฉพาะระยะmainมีคุณสมบัติป้องกันการกลับเป็นซ้ำของโรค (Recurrence) ยากลุ่มนี้ได้แก่ lithium
Lithium carbonate
Lithium ที่นำมาใช้ในการรักษาผู้ป่วยคือlithium carbonate (LiCo3)สามารถดูดซึมเข้าสู่ร่ายกายภายใน1-3ชม.และขับออกทางไต lithium จะออกฤทธิ์ควบคุมอาการคุ้มคลั่งต้องได้รับยา1-2wk
กลไกการออกฤทธิ์
Lithiumออกฤทธิ์ไปปรับเปลี่ยนสารสื่อประสาทบางชนิดได้แก่ serotonin, dopamine, norepinephrine และacetylcholineให้เกิดความสมดุลทำให้อารมณ์คงที่มากขึ้น
ผลข้างเคียง
Early side effects
Late side effects
Leukocytosis
ระดับพิษของ lithium
ระดับเฝ้าระวัง
(1.2-1.5 mEq/L) คลื่นไส้,ท้องเสีย,ปัสสาวะบ่อย,กระหายน้ำ,อ่อนเพลีย
1-2wk. ที่ได้รับยาให้สังเกตอาการ, ติดตามระดับ serum lithium เป็นระยะ
ระดับเป็นพิษเล็กน้อย
(1.5-2.0 mEq/L) มือสั่น,อาเจียน,ปวดท้อง,ปากแห้ง,เวียนศีรษะ,กล้ามเนื้ออ่อนแรง,ตาพร่ามัว
ระดับเป็นพิษปานกลาง
(2.0-2.5 mEq/L) คลื่นไส้อาเจียนตลอดเวลา,ตาพร่า,กล้ามเนื้อกระตุกความดันต่ำ,ชัก,เป็นลมหมดสติ,การทำงานหัวใจผิดปกติ หยุดยาทันทีถ้าผู้ป่วยรู้สึกตัวให้ยาแก้อาเจียนและทำ gastric lavage
ระดับพิษรุนแรง
(> 2.5 mEq/L) หัวใจล้มเหลว,ความดันต่ำมาก,ไข้สูง,ไม่รู้สึกตัวปัสสาวะออกน้อย,ไตล้มเหลว,อาจจะเสียชีวิตได้ เตรียม hemodialysis
การพยาบาลผู้ป่วยที
ได้รับการรักษาด้วยยาlithium
ซักประวัติและการตรวจร่างกายก่อนเริ่มให้ยา
ติดตาม serum lithium
ให้ความรู้การใช้ยากับผู้ป่วยและญาติ
ให้ผู้ป่วยรับประทานยาพร้อมอาหารหรือหลังอาหารทันที
ให้ผู้ป่วยกินยาต่อเนื่องจนหมด
ถ้ามีอาการปากแห้งคอแห้งให้จิบน้ำบ่อยๆ
พักผ่อนให้เพียงพอ
ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 6-8แก้ว
สังเกตอาการ mania และอารมณ์ที่ขึ้นๆลงๆ
ข้อควรระวัง
ห้ามใช้ในผู้ป่วยหมดสติเพราะทำให้กดการหายใจ
ห้ามใช้ในผู้ป่วยไตวายเฉียบพลัน
ห้ามใช้ในผู้ป่วย acute or recent myocardial infraction
ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์
ไม่ควรใช้ร่วมกับยาขับปัสสาวะและเกลือโซเดียมไบคาร์บอเนต
Carbamazepine (Tegretol)
กลไกการออกฤทธิ์
Carbamazepineออกฤทธิ์ต่อหลายระบบเช่นช่วยเสริมการทำงานของserotoninเสริมการทำงานของGABA
ข้อควรระวัง
ควรระวังในผู้ป่วยโรคตับ,ไต,ไขกระดูก
ไม่ควรใช้ในหญิงตั้งครรภ์โดยเฉพาะ3เดือนแรก
ผลข้างเคียงยา
คลื่นไส้อาเจียนในช่วงแรก,กระหายน้ำ,ปวดท้อง,ท้องเสีย
ง่วงซึม,เดินเซ,กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ตาพร่ามัวมองเห็นภาพซ้อน
มีเสียงกริ่งในหู
ปวดเมื่อยตามตัว,ปัสสาวะแสบขัด
ไข้สูง,ไอเจ็บคอมีแผลแสบร้อนในปาก,กลืนอาหารไม่ได้
อาจมีผื่นคันถ้ารุนแรงอาจเป็นSteven Johnson syndrome
การพยาบาล
สังเกตและประเมินอาการของผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยรับประทานยาพร้อมอาหาร
ติดตามระดับเม็ดเลือดขาวถ้าต่ำกว่า 4,000 ให้รีบปรึกษาแพทย์
ดูแลอย่างใกล้ชิด
ดูแลความสะอาดร่างกายเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
Valproate (Depakin, Encorate)
กลไกการออกฤทธิ์
Valproateช่วยเสริมการทำงานของระบบGABA
โดยเพิ่มระดับของGABAในสมองให้สูงขึ้น
ข้อควรระวัง
ห้ามใช้ในผู้ป่วย severe AV blockและโรคตับรุนแรง
ไม่ควรใช้ในหญิงตั้งครรภ์โดยเฉพาะ3เดือนแรก
ผลข้างเคียง
อาการไม่รุนแรงเช่นคลื่นไส้อาเจียน,อ่อนเพลีย,ง่วงซึม
อาการรุนแรงเช่น hepatitis, hepatic failure หรือ pancreatitis, reversible thrombocytopenia หรือplatelet dysfunction