Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลวิธีทางการพยาบาลสาธารณสุข - Coggle Diagram
กลวิธีทางการพยาบาลสาธารณสุข
ประโยชน์ของการพัฒนาศักยภาพชุมชน
2 เกิดการระดมทรัพยากรทุนทาสังคมทั้งบุคคลวัตถุและความตีงามที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดการพัฒนาสุขภาพชุมชนสูงสุด
ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพชีวิตที่ตีการแก้ไขปัญหาที่ยั่งยืน
1.ประชาชน ชุมชนตระหนักในปัญหาและความสารถในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์ของการพัฒนา
1.การทำให้สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน
ระบบสุขภาพไทย มุ่งสู่ระบบสุขภาพพอเพียง
ภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์
มีรากฐานที่เข้มแข็ง
มีความรอบคอบและรู้จักประมาณอย่างมีเหตุผล
มีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
มีบูรณาด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรครักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพและคุ้มครองผู้บริโภค
มีระบบภูมิคุ้มกัน
มีคุณธรรม จริยธรรม
แนวคิดทุนทางสังคม คือ ผลรวมของสิ่งดีงามต่างๆ ที่มีอยู่ในสังคม องค์ประกอบดังนี้ ทุนมนุษย์, ทุนที่เป็นสถาบัน, ทุนทางปัญญาและวัฒนธรรม
การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและการดูแลแบบเอื้ออาทร
การจัดการองค์ความรู้และระบบการเรียนรู้ของชุมชนอย่างครบวงจร
การสร้างภูมิคุ้มกันให้ชุมชนพร้อมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง
1.การส่งเสริมการรวมตัวของคนในชุมชนทำกิจกรรมเพื่อประโยชน์ของชุมชน
การสร้างความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน
การสร้างเสริมพลังอำนาจ
เกิดความเข้าใจกันมาดขึ้นนำไปสู่การทำงานร่วมกัน
ให้ความต้องการของประชาชน
ลดการทำงานและการใช้ทรัพยากรซ้ำซ้อน
ช่วยชี้ให้เห็นปัญหาและประเด็นที่ซับซ้อน
ช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ทักษะความรู้
ช่วยเชื่อมหน่วยงานวิชาการแหล่งสนับสนุนและแหล่งทุนกับกลุ่มเป้าหมาย
การมีความคิดเชิงบวกเกี่ยวกับความสามารถที่บุคคลหรือกลุ่มคนจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
แนวคิดประชาสังคม กระบวนการในการสร้างสำนึกรับผิดชอบและความร่วมมือของบุคคลและองค์กรเพื่อแก้ปัญหาและศีลธรรม เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองตลอดถึงการจัดสรรทรัพยากรและการ บริหารชุมชนและสังคม
แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน เปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนรับรู้ ร่วมคิด
วิวัฒนาการสาธารณสุขมูลฐาน
2523 ลงนามในกฎบัตรองค์การอนามัยโลก
แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่ 4 เริ่มดำเนินการสาธารณสุขมูลฐาน
2521 การสาธารณสุขมูลฐานเป็นวิธีหลักในการบรรลุเป้าหมาย
ยุคแผนพัฒนา ฉบับที่ 5 ให้ความสำคัญกับการพัฒนาชนบท
2550 กำหนดนโยบาย Healt for All the Year 2000
ลักษณะของชุมชนเข้มแข็ง
สมาชิกพร้อมที่จะร่วมกันจัดการปัญหามีการเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องจนเป็นวิถี
สมาชิกเกิดการเรียนรู้มีแผนของชุมชนมีเครือข่ายความร่วมมือกับภาคีการพัฒนา
สมาชิกเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเอง
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลชุมชน
การเพิ่มความตระหนักของชุมชนต่อข้อมูลหรือดัชนี
ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์เกี่ยวกับเป้าหมาย
ความต้องการด้านสุขภาพของชุมชนกระบวนการที่จะทำให้เกิดความร่วมมือในการดำเนินงาน
สนับสนุนบุคคลและองค์กรให้ใช้ทักษะและแหล่ประโยชน์ในการบริการสุขภาพที่ถูกต้อง
ความเป็นหุ้นส่วนกันจะเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ความเป็นเจ้าของหรือหุ้นส่วน
แนวคิดการสาธารณสุขมูลฐาน
เจ้าหน้าที่รัฐทำงานร่วมกัน
ความร่วมมือของชุมชนด้วยความสมัครใจ
พัฒนาชุมชนให้มีความสามารถ
ผสมผสานกับงานด้านอื่นๆ เช่น การศึกษาการเกษตร
ระบบการสาธารณสุขเพิ่มเติม ดำเนินงานในระบบตำบล หมู่บ้าน
สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
แก้ปัญหาตามความเหมาะสม
เชื่อมโยงกับงานบริการของรัฐ
บทบาทของ อสม
ให้การช่วยเหลือรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ติดตามการรักษาและจ่ายยาผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อ
ประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชน
เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ประชาชน
แจ้งข่าวสาร แนะนำเผยแพร่ความรู้
ปฏิบัติสาธารณสุขมูลฐาน 14 องค์ประกอบ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บุคคลกลุ่มบุคคลหรือหน่วยงานต่างๆ ภายนอกที่อาจจะมีผลกระทบหรือได้รับผลกระทบจากการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของชุมชน
องค์ประกอบของประชาสังคม
โครงสร้างองค์ประกอบประชาสังคม
เครือข่ายประชาสังคม
จิตสำนึกประชาสังคม
เครือข่าย
เกิดความเข้าใจกันมากขึ้นนำไปสู่การทำงานร่วมกันเพื่อประโยชน์
ให้ความต้องการของประชาชน
ลดการทำงานและการใช้ทรัพยากรย้ำซ้อน
ช่วยชี้ให้เห็นปัญหาและประเด็นที่ซับซ้อน
ช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ทักษะ
หุ้นส่วนสุขภาพ
โครงสร้างของหุ้นส่วนสุขภาพ
กระบวนการของหุ้นส่วน
ยุทธศาสตร์เมืองไทยแข็งแรงและยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุข
ด้านการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
ด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ด้านนโยบายสาธารณสุขเพื่อสุขภาพ
ด้านการส่งเสริมพัฒนาทักษะส่วนบุคคล
ด้านการปรับเปลี่ยนระบบบริการสาธารณสุข
กลวิธีในการดำเนินการสาธารณสุขมูลฐาน
การใช้เทคโนโลยี
การปรับระบบบริการพื้นฐาน
การมีส่วนร่วมของชุมชน
จัดตั้งกองทุนหมุนเวียน
คัดเลือกและฝึกอบรม อสม, กสค
ให้ประชาชนรู้สึกเป็นเจ้าของและร่วมบริหาร
ผสมผสานกับงานกระทรวงอื่นๆ