Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลวิธีทางการพยาบาลสาธารณสุข - Coggle Diagram
กลวิธีทางการพยาบาลสาธารณสุข
แนวคิดและกลวิธีการสาธารณสุขมูลฐาน
สาธารณสุขมูลฐาน/จปฐ
เจ้าหน้าที่ของรัฐเปลี่ยนบทบาทใหม่จากเป็นผู้ให้บริการประชาชนเป็นผู้กระตุ้นให้คำแนะนำ(Supervisor)เป็นผู้สนับสนุน(Supporter)
แนวคิด
ระบบบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมและเสริมจากระบบของรัฐ
แก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ด้วยตนเอง
รับรู้และทราบว่าปัญหาของชุมชนคืออะไร และร่วมกันพิจารณาแนวทางแก้ไขปัญหา
ทำงานร่วมกัน
ความร่วมมือของชุมชน
ผสมผสานกับงานการพัฒนาด้านอื่นๆ
เทคนิคและวิธีการง่ายๆ
ยืดหยุ่นในการที่จะนามาใช้แก้ปัญหา
สอดคล้องและอาศัยประโยชน์
กิจกรรมต่างๆ เช่น สุขศึกษา,ควบคุมป้องกัน
เชื่อมโยงกับงานบริการสาธารณสุขของรัฐ
กิจกรรมที่จำเป็นในการสาธารณสุขมูลฐาน (Essential Element PHC)
14 องค์ประกอบ
6) งานรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Treatment:T)
7) งานจัดหายาที่จำเป็นไว้ใช้ในชุมชน (Essential Drugs:E)
8) การอนามัยแม่และเด็ก และการวางแผนครอบครัว (Maternal and Child Health and Family Planning:M)
5) งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Immunization:I)
9) งานสุขภาพจิต (Mental Health:M)
4) การเฝ้าระวังโรคประจาถิ่น (Surveillance for Local Disease Control:S)
10) งานทันตสาธารณสุข (Dental Health:D)
3) การจัดหาน้าสะอาดและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม (Water Supply and Sanitation:W)
11) งานอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health:E)
2) งานสุขศึกษา (Education:E)
12) การคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer Protection:C)
1) งานโภชนาการ (Nutrition:N)
13) การป้องกันอุบัติเหตุและฟื้นฟูสภาพคนพิการ (Accident and Rehabilitation:A)
14) งานป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ (AIDS:A)
กลวิธีในการดำเนิน
1) การมีส่วนร่วมของชุมชน (People Participation / PP, Community Involvement / CI)
รู้สึกเป็นเจ้าของและตระหนักถึงปัญหา
2) การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม (Appropriate Technology / AT)
ใช้งานง่าย ไม่ซับซ้อน ยุ่งยาก
การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีระหว่างหมู่บ้าน(TCDV)
3) การปรับระบบบริการพื้นฐานของรัฐเพื่อรองรับการสาธารณสุขมูลฐาน (Reoriented Basic Health Services / BHS)
กระจายทรัพยากร
ระบบส่งต่อผู้ป่วย
บริการให้ทั่วถึงครอบคลุม
การผสมผสานกับงานของกระทรวงอื่นๆ (Intersectoral Collaboration = IC)
การกำหนดกลวิธีการดำเนินงานสาธารณสุขต่างๆล้วนตั้งอยู่บนพื้นฐานปรัชญา 4 ประการ
ความเสมอภาค
คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
การพัฒนาที่ยั่งยืน
ประสิทธิผลคุ้มค่า
บทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม)
แจ้งข่าวสารสาธารณสุข และแนะนำเผยแพร่ความรู้
ประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่
ช่วยเหลือรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ติดตามการรักษาและจ่ายยา
ตัวอย่างที่ดี
ปฏิบัติการสาธารณสุขมูลฐาน 14 องค์ประกอบ
แกนกลางประสานงาน
สมุนไพรในการสาธารณสุขมูลฐาน
61 ชนิด อาการได้เป็น 5 กลุ่มโรค
เครื่องชี้วัดสุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All)
เครื่องชี้วัดบริการสาธารณสุข พิจารณาใน 2 ส่วน
พึ่งตนเอง
เข้าถึงบริการ
เครื่องชี้วัดสุขภาพดีถ้วนหน้าของประเทศไทย แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
บรรลุ จปฐ
ขั้นตอนการนำ จปฐ ไปใช้
ขั้นตอนที่ 1 การสำรวจข้อมูล
ขั้นตอนที่ 2 รู้ปัญหาชุมชน
ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์ปัญหาเพื่อกำหนดสาเหตุของปัญหา
ขั้นตอนที่ 4 จัดลำดับก่อนหลังและวางแผนแก้ไข
ขั้นตอนที่ 5 ดำเนินงานตามแผน
ขั้นตอนที่ 6 ประเมินผล
ขั้นตอนที่ 7 สอนหมู่บ้านอื่นๆ
ประโยชน์
ประชาชน
ไม่สับสน
รู้ปัญหา
มีเป้าหมาย
แนวทางพัฒนาหรือแนวทางแก้ไข
การระดมทรัพยากร
ประเมินผล
หลักประกันการพัฒนาระยะยาว
มีกระบวนความคิดที่เป็นวิทยาศาสตร์
รัฐ/ข้าราชการ
การประสานงานกันอย่างจริงจัง
มีการหล่อหลอมความคิด
เป้าหมายที่แน่นอน
การกระจายทรัพยากรไปสู่การพัฒนา
สถานะของการใช้ จปฐ. มีอยู่ 4 สถานะ
เป้าหมาย (Goal)
ตัวชี้วัด (Indicator)
ข้อมูล (Data)
กระบวนการ (Process)
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2 ประการ
สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน (Green and Happiness Society)
ระบบสุขภาพพอเพียง
ภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์
รากฐานที่เข้มแข็ง
มีเหตุผล
ภูมิปัญญาไทยและการพึ่งตนเอง
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟู
ระบบภูมิคุ้มกัน
คุณธรรม จริยธรรม
แนวคิดการพัฒนาสุขภาพชุมชน
ชุมชนเข้มแข็ง
ชุมชนที่มีขีดความสามารถในการจัดการปัญหาของตนเองได้ในระดับหนึ่ง
องค์ประกอบ
1) บุคคลหลากหลายที่รวมตัวกันเป็นองค์กรชุมชนอย่างเป็นทางการหรือไม่ก็ตาม
2) มีเป้าหมายร่วมกันและยึดโยงเกาะเกี่ยวกันด้วยประโยชน์สาธารณะและของสมาชิก
3) มีจิตสำนักของการพึ่งตนเอง รักษาเอื้ออาทรต่อกัน และมีความรักท้องถิ่น รักชุมชน
4) มีอิสระในการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำและร่วมรับผิดชอบ
5) มีการระดมใช้ทรัพยากรในชุมชนอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ
6) มีการเรียนรู้เชื่อมโยงกัน เป็นเครือข่ายและติดต่อสื่อสารกันหลายรูปแบบ
7) มีการจัดทำกิจกรรมที่เป็นสาธารณะของชุมชนอย่างต่อเนื่อง
8) มีการจัดการบริหารกลุ่มที่หลากหลายและเครือข่ายที่ดี
9) มีการเสริมสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่หลากหลายของชุมชนสืบทอดกันตลอดไป
ดังนี้
1)การสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน (Participation)
2) แนวคิดประชาสังคม (Civil Society)
องค์ประกอบ
จิตสำนึกประชาสังคม (Civic consciousness)
โครงสร้างองค์กรประชาสังคม (Civic organization)
เครือข่ายประชาสังคม (Civic network)
3) ทุนทางสังคม (Social Capital)
ทุนมนุษย์
ทุนที่เป็นสถาบัน
ทุนทางปัญญา และวัฒนธรรม ครอบคลุมถึง ระบบคุณค่า (Value)
4) หุ้นส่วนสุขภาพ (Partnership)
ทุนทางปัญญา และวัฒนธรรม ครอบคลุมถึง ระบบคุณค่า (Value)
กระบวนการของหุ้นส่วน ( process of partnership )
5) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder)
บุคคล/ กลุ่มบุคคล หรือหน่วยงานต่าง ๆ ภายนอก ที่อาจจะมีผลกระทบหรือได้รับผลกระทบจากการดำเนินงาน
6) เครือข่าย (Networks)
สัมพันธภาพทางสังคมและความเชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล
7) การสร้างเสริมพลังอานาจ (Empowerment)
ตระหนักในศักยภาพที่ตนเองมีและสามารถดึงศักยภาพออกมาเพื่อปรับปรุงพัฒนาวิถีชีวิต
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน
เป้าหมาย
สร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาและฟื้นฟู่
เป้าหมายของการบริการสุขภาพของประเทศไทย
การปฏิบัติงานเพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้เพื่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพของทุกคนที่ดี
กลวิธีที่สำคัญ
1) ความเป็นเจ้าของ หรือเป็นหุ้นส่วนในการดำเนินงาน (Partnership Process) ความร่วมมือกัน เป็นหุ้นส่วนในการดำเนินงานชุมชน (Partnership)
2) ความเป็นหุ้นส่วนกันจะเป็นการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (community’s capacity)
3) เกิดความร่วมมือในการดำเนินงานในชุมชน
4) การเพิ่มความตระหนักของชุมชนต่อข้อมูล หรือดัชนี
5) ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์
6) สนับสนุนบุคคลและองค์กรให้ใช้ทักษะ และแหล่งประโยชน์
7) กระตุ้นให้ประชาชนร่วมตัดสินใจ
8) เห็นความสำคัญของสุขภาพโดยรวม
9) เน้นความสำคัญตามลำดับความสำคัญ ของประชาชนในชุมชน
10) ยอมรับในความแตกต่างกันทางวัฒนธรรมและความต้องการ
11) ขยายแหล่งประโยชน์ทางสุขภาพของชุมชน
12) ส่งเสริมการสร้างพันธะสัญญา