Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดการพยาบาลชุมชน (Concept of Community) - Coggle Diagram
แนวคิดการพยาบาลชุมชน
(Concept of Community)
แนวคิดที่เกี่ยวข้อง
การมองชุมชนอย่างเป็นระบบ (Community as a System)
ชุมชนในฐานะผู้ใช้บริการ(Community as a Client)
ประชากรเป้าหมาย
ขอบเขตทางกายภาพ
ระบบสังคมของชุมชน
ครอบครัวในฐานะผู้ใช้บริการ (Family as a Client)
ครอบครัวเป็นหน่วยรวม (The Family Unit as a System)
ครอบครัวเป็นระบบของปฏิสัมพนัธ์แต่ละระบบย่อยภายใน (The Family Interactional System)
ครอบครัวเป็นบริบทของการพัฒนาการของบุคคล (Individual as Client in the Family Context)
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion)
เป้าหมายการสร้างเสริมสุขภาพ
เป้าหมายหลายมิติ
มิติกลุ่มเป้าหมาย(Population Group)
กลุ่มเด็ก กลุ่มเยาวชน กลุ่มผู้ใหญ่ กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มผู้หญิง กลุ่มผู้พิการ
มิติกลุ่มหรือพ้นที่เป้าหมาย (Key Setting)
ครอบครัว โรงเรียน โรงพยาบาล สถาน
ประกอบการ ชุมชน
มิติพัฒนาสุขภาพ (Health Enhancement)
ปัจจัยเสี่ยง (Risk Factors)
การสูบบุหรี่
การไม่ออกกำลังกายกาย
การมีพฤติกรรมไม่ปลอดภัย
การเกิดโรค
โรคหลอดเลือดหวัใจ
ปัญหาสุขภาพจิต
มิติกลยุทธ์ (Strategies)
การออกกฎหมายห้ามสูบบุหรี่
การบรรลุสุขภาพดีในระดับสูงสุด (Optimal or High-Level Wellness)ของบุคคลครอบครัวกลุ่มคนและชุมชน
ทั้งนี้เพื่อลดปัญหาสุขภาพและการเจ็บป่วยลดการ
สูญเสียงบประมาณการรักษาที่ไม่จำเป็น
สุขภาพชุมชน (Community Health)
สภาวะที่สมบูรณ์ทั้งในมิติด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณของชุมชนทั้งชุมชนโดยรวม ซึ่งประกอบด้วยโครงสร้างและกระบวนการการจัดการแก้ไขปัญหาที่มากระทบต่อความสมดุลของชุมชน โดยการปฏิบัติตามหน้าที่และความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในชุมชน เพื่อให้สามารถพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของชุมชนอยู่ตลอดเวลา
วิวัฒนาการ
มาจากการพัฒนาสาธารณสุขและการพยาบาลตามบ้านจากปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อการดูแลผู้ป่วยที่ยากจนโดยนักบวช แม่ชี การสงเคราะห์ผู้ป่วยยากจนของสตรีที่มีเศรษฐานะดีในประเทศ ทางยุโรปและอเมริกา
ลิเลียน วอลด์(Lilian Wald) เป็นผู้ใช้ชื่อพยาบาลสาธารณสุขสำหรับพยาบาลที่ปฏิบัติงานในชุมชน ค ศ 1893 ได้ก่อตั้ง Henry Street Settlement ให้บริการสาธารณสุขแก่นักเรียน และครอบครัวในแหล่งเสื่อมโทรมของนครนิวยอร์ก
ปี ค ศ 1912 สหรัฐอเมริกาก่อตั้งองค์กรพยาบาลสาธารณสุขแห่งชาติ (National Organization of Public Health Nursing หรือชื่อย่อว่า NOPHN) และสภากาชาดได้ก่อตั้งการบริการพยาบาลชนบท (Rural Nursing service)
ประเทศไทย
ระยะที่สอง (พ ศ 2485-2499)
การสาธารณสุขของประเทศขยายตัวอย่างรวดเร็ว
กระทรวงสาธารณสุขเกิดขึ้นในปี 2485
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้รับความร่วมมือกับWHO และองค์กรเกี่ยวกับการสงเคราะห์เด็กแห่งสหประชาชาติในการพัฒนางานด้านสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข
มีพยาบาลประจำสุขศาลา (สถานีอนามัย) ในชนบท
ในเขตเมืองมีเทศบาลเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ และมีพยาบาลประจำ
สุขศาลาของเทศบาลเรียกว่า พยาบาลสาธารณสุข
ระยะที่ 3 (พ ศ 2500-ปัจจุบัน)
เน้นงานวางแผนอนามัยครอบครัว (ประมาณปี พ ศ 2513)
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 การสาธารณสุขมุ่งเน้นเรื่องการมีส่วน ร่วมของชุมชนทำให้การศึกษาการพยาบาลเริ่มเปลี่ยน โครงสร้างหลักสูตรที่เน้นการดูแลชุมชนมากขึ้นน
หลักสูตรระดับปริญญาตรีโทสาขาการพยาบาลอนามัยชุมชนและพัฒนามาเป็นการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน สามารถปฏิบัติการพยาบาลในชุมชนที่มีลักษณะการพยาบาล ขั้นสูงได้
ระยะแรก (พ ศ 2400-2484)
เป็นระยะเริ่มต้นของการสาธารณสุขสมัยใหม่
มุ้งเน้นการสาธารณสุขขทีสำคัญของประเทศ
เน้นการพัฒนาด้านการแพทย์
โรงเรียนผดุงครรภ์และหญิงพยาบาล ปี 2439
โรงเรียนพยาบาลของสภากาชาดไทย ปี 2457
โรงเรียนผดุงครรภ์และอนามัยแมคคอร์มิค ปี 2466
สร้างโรงพยาบาลศิริราชและโรงเรียนแพทย์ ปี 2431
หลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน
ต้องเก็บรักษาเรื่องส่วนตัวของผู้ป่วยไว้เป็นความลับ นอกจากผู้ป่วยยินยอมหรือเมื่อต้องปฏิบัติตามกฎหมาย เพราะเรื่องส่วนตัวของผู้ป่วยเป็นสิทธิของบุคคล
จริยธรรมแห่งวิชาชีพเป็นระเบียบข้อบังคับที่สมาชิกทุกคนในวิชาชีพต้องนำไปปฏิบัติ บางทีเรียกว่า "มรรยาทวิชาชีพ"
สิทธิผู้ป่วย
ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพโดยไม่เลือกปฏิบัติ
ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะรับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอชัดเจนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะฉุกเฉินเสี่ยงอันตรายถึงชีวิตมีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันที
ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อนามสกุลและประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็นผู้ให้บริการแก่ตน
ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่นที่มิได้เป็นผู้ให้บริการแก่ตนและมีสิทธิขอเปลี่ยนผู้ให้บริการและสถานบริการได้
สมรรถนะการพยาบาลชุมชน
การปฏิบัติงาน 6 ด้าน
สมรรถนะด้านการด าเนินงานพัฒนาสุขภาพชุมชน
สมรรถนะด้านภาวะผู้นำ
สมรรถนะด้านการบริหารจัดการ
สมรรถนะด้านการทำงานร่วมกับชุมชน
สมรรถนะด้านกฎหมายและจริยธรรม
สมรรถนะด้านวิชาการและการวิจัย
ที่จำเป็นของพยาบาลชุมชน
สมรรถนะด้านความรู้
ความรู้เกี่ยวกับบุคคล
ความรู้เกี่ยวกับครอบครัว
ความรู้เกี่ยวกับชุมชน
ความรู้เกี่ยวกับความรู้เฉพาะหรือประเด็นทางพฤติกรรมสุขภาพที่สนใจ
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลชุมชน
ลักษณะงานของพยาบาลอนามัยชุมชน
Autonomy
พยาบาลร่วมกับผู้รับบริการสามารถตัดสินใจอย่างอิสระเพื่อการดูแลสุขภาพ
Continuity
ให้บริการแบบต่อเนื่องและครบถ้วนมากกว่าการดูแลเพื่อแก้ปัญหาในระยะสั้นๆเป็นครั้งคราว
Population focus
เน้นสุขภาพของกลุ่มประชากรมากกว่าบุคคลหรือครอบครัว
Collaboration
เน้นการประสานความร่วมมือระหว่างพยาบาล ประชาชนผู้มารับบริการกับหน่วยงานอื่น ๆ ในการดำเนินงาน
Orientation to health
เน้นการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคมากกว่าการรักษา
Interactivity
ตระหนักถึงอิทธิพลของปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อภาวะสุขภาพ
Public accountability
ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ในด้านสุขภาพของประชาชน
Intimacy
ตระหนักถึงการดำเนินชีวติและสภาพความเป็นอยู่ที่แท้จริงของประชาชน
Variability
การปฏิบัติงานกับความหลากหลายของผู้รับบริการทั้งด้านเชื้อชาติศาสนาฐานะเศรษฐกิจและการให้บริการระดับบุคคลครอบครัว ชุมชน ในสถานการณ์ต่างๆ
บทบาทหน้าที่
เป็นผู้บริหารจัดการ (Manager)
เป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor)
เป็นผู้พิทักษ์ผลประโยชน์ (Advocator)
เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change agent)
เป็นผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพ (Health educator)
เป็นผู้นำ (Leader)
เป็นผู้บริการด้านสุขภาพ (Health care provider)
เป็นผู้ประสานงาน (Coordinator)
เป็นผู้ใหค้วามร่วมมือ(Collaborator)
มาตรฐานการพยาบาลอนามัยชุมชน
ด้านการประเมินผลต้องมีการกำหนดเป้าหมายและประเมินผลร่วมกันระหว่างผู้รับบริการและพยาบาลเกี่ยวกับความก้าวหน้าและผลที่จะได้รับทางสุขภาพอนามัยของผู้รับบริการ
ด้านการประกันคุณภาพและพัฒนาวิชาชีพต้องร่วมมือในการประเมินผลการบริการด้วยวิธีการต่าง ๆ พัฒนาคุณภาพบุคลากรและบริการเพื่อบริการพยาบาลได้มาตรฐานคุณภาพ
ด้านกิจกรรมบริการในการปฏิบัติการพยาบาลตามแผนเพื่อส่งเสริมสุขภาพป้องกันรักษาและฟื้นฟูสภาพโดยให้ผู้รับบริการหรือชุมชนมีส่วนร่วม
ด้านการร่วมงานในระหว่างทีมสุขภาพและบุคลากรอื่น ๆ ในกระบวนการบริการเพื่อสุขภาพชุมชน
ด้านการวางแผนการป้องกันทุกระดับจากการวินิจฉัยทางการพยาบาลพยาบาลต้องปฏิบัติการพยาบาลที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการระบุแนวทางชัดเจนที่จะดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย
ด้านการวินิจฉัยทางการพยาบาลต้องได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมไว้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพของชุมชนครอบครัวและบุคคล
ด้านการรวบรวมข้อมูลต้องมีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู้รับบริการอย่างมีระบบครบถ้วนถูกต้องใช้ได้สะดวก
ด้านการวิจัยพยาบาลอนามัยชุมชนต้องทำการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาความรู้ในการบริการกองการพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข
ด้านทฤษฎีพยาบาลอนามัยชุมชนต้องนำแนวคิดทฤษฎีหลักการทางการพยาบาลที่เป็นพื้นฐานของความรู้มาประยุกต์ใช้เพื่อการตัดสอนใจในการปฏิบัติงานพยาบาล