Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช, นางสาวจุรีพันธ์…
บทที่1มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช
อาการวิทยาและเกณฑ์
การจำแนกโรคทางจิตเวช
2.อาการ Symptoms
ประสบการณ์ที่ผู้ป่วยได้รับซึ่งจะถูกบอกเล่าโดยผู้ป่วยเองได้แก่ มีอารมณ์เศร้า รู้สึกหมดเรี่ยวแรง
3.กลุ่มอาการ Syndrome
อาการและอาการแสดงหลายหลายอย่างที่พบร่วมกันแล้วถูกเรียกด้วยชื่อเฉพาะกลุ่ม อาการกลุ่มอาการหนึ่งๆอาจพบได้หลายลูก
1.อาการแสดง Signs
สิ่งที่ผู้ตรวจได้จากการสังเกตและทำการตรวจ
4.โรคทางจิตเวช mental disorder
กลุ่มอาการและอาการแสดง ที่เป็นความผิดปกติ ของพุทธิปัญญาการควบคุมอารมณ์ หรือพฤติกรรมที่สะท้อนถึงความผิดปกติทางจิตทางชีววิทยาหรือกระบวนการ ทางพัฒนาการ
พยาบาลจำเป็นต้องยึดหลักจริยธรรม
การเคารพเอกสิทธิ์ ความซื่อสัตย์ ความเอื้ออาทรต่อผู้ป่วย ระเบียบวินัยความยุติธรรมหรือความเสมอภาค การเสียสละ การรับผิดชอบการบอกความจริง การรักษาความลับ
สิทธิ์ของผู้ป่วย กฎหมายจริยธรรม
ในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
มาตราที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
มาตรา3 12 13 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 27
กรณีผู้ป่วยคดี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 30
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา31
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 29
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา32
วัตวัตถุประสงค์
เพื่อปกป้องคุ้มครองส่งเสริมและปรับปรุงคุณภาพชีวิต
เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยธรรมของผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต
เพื่อเป็นการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากผู้ป่วยจิตเวช
เจอ
แจ้ง
ตรวจ
ส่ง
เกณฑ์การจําแนกโรคทางจิตเวช
1) International Classification of Disease and Related Health Problem 10 th Revision (ICD 10) เริ่มใช้ในปี 1992 พัฒนาขึ้นโดยองค์การอนามัยโลก (World Health Organization)
2) Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder 5 th edition (DSM V) พัฒนา โดยสมาคมจิตแพทย์อเมรกิัน(AmericanPsychiatricAssociationหรือAPA)
ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวช
(Bio-psycho-social-spiritual factors)
ปัจจัยทางกายหรือชีวภาพ (Biological factors) คือปัจจัยสาเหตุทางด้านร่างกายที่ส่งผลให้ เกิดโรคทางจิตเวช
serotonin เป็นสารสื่อประสาทที่ทําหน้าที่เกี่ยวข้องกับ วงจรของการหลับและตื่น
norepinephrine เป็นสารสื่อประสาทที่ทําหน้าที่เกี่ยวกับการตอบสนองต่อ สถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความเครียด
GABA (gamma amino butyric acid) เป็นสารสื่อประสาทที่ทําหน้าที่ในการยับยั้ง การตอบสนองของระบบประสาทที่มากเกินไป
acetylcholine เป็นสารสื่อประสาทที่ทําหน้าที่เก่ียวข้องกับการเคลื่อนไหว และ ความจํา
ปัจจัยทางด้านจิตใจ(psychologicalfactors)คือปัจจัยท่ีเป็นสาเหตุจากภายในของมนุษย์ที่ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตหรือโรคทางจิต
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ปัญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพ และพฤติกรรมที่ผิดปกตขิ องมนุษย์ มีสาเหตุมาจากการทํางานของโครงสร้างบุคลิกภาพที่ไม่สมดุลกัน (Id, Ego และ Superego)
ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม (humanistic theories)
ไม่เข้าใจปัญหาที่แท้จริงของตนเอง ขาดความตระหนกั รู้ หรือยอมรับตนเองและสิ่งแวดล้อมตามความเป็นจริง
ปัจจัยทางด้านสังคม (social factors)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ บริเวณที่ตั้งของที่อยู่อาศัย
ลักษณะของชุมชน ข้างเคียง
ความสัมพันธ์ในครอบครัว ครอบครัวที่อบอุ่น สมาชิกในครอบครัวก็จะมีความรู้สึกมั่นคง ปลอดภัย และไว้วางใจต่อกัน
เมื่อประสบปัญหาก็จะช่วยเหลือ สนับสนุน
ลักษณะการอบรมเลี้ยงดู
การศึกษา
ปัจจัยทางจิตวิญญาณ (spiritual factors)
ปรัชญาชีวิต (Philosophy of Life) เป็นแนวคิดที่สําคัญในดําเนินชีวิต เป็นการให้ความหมายแก่สิ่งที่สําคัญในชีวิต
สิ่งที่นับถือหรือที่พึ่งทางใจ (concept of deity) ได้แก่ ศาสนา หรือสิ่งที่บุคคลเลื่อมใส ศรัทธา
กลุ่มอาการและอาการแสดงทางจิตเวช
1.ความผิดปกติของความรู้สึกตัว
(disturbance of consciousness)
ชนิดที่1ความผิดปกติของระดับวามรู้สึกตัว
(disturbanceoflevelofconsciousness)
ชนิดที่ 2 ความผิดปกติของการคงความใส่ใจ
(disturbance of attention)
ชนิดท่ี 3 ความผิดปกติของเน้ือหาความคิด
(disturbance of content of thought)
2) ความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลื่อนไหว
(disturbance of motor behavior)
aggressionคือการเคลื่อนไหวด้วยความก้าวร้าวซึ่งมักเกิด
ร่วมกับอารมณ์โกรธเดือดดาล
abulia การไม่มีเจตจํานง (amotivation)
ไม่คิดริเริ่ม ไม่ทําอะไร และไม่คํานึงถึงผลที่เกิด
acting out เป็นการกระทําอย่างวู่วาม เป็นการตอบสนองต่อแรงขับ
จากจิตไร้สํานึกหรือ ความตึงเครียดภายใน
3) ความผิดปกติของการพูด
(disturbance of speech)
clutteringพูดเป็นจังหวะติดๆขัดๆ
dysarthria ความผิดปกติในการเปล่งเสียงพูด
dysprosody พูดแบบไม่มีเสียงขึ้นลงตามลักษณะปกติของการพูด
nonspontaneous speech การพูดเฉพาะเวลาถูกถาม
หรือถูกพูดด้วยโดยตรง
poverty of speech พูดน้อย ตอบพยางค์เดียว
4) ความผิดปกติของอารมณ์
(disturbance of emotion)
1) ความผิดปกติของอารมณ์ที่แสดงออก (disturbance of affect)
affect คือ สภาวะ อารมณ์ที่ปรากให้ผู้อื่นสังเกตได้
2) ความผิดปกติของอารมณ์ (disturbance of mood)
mood คือ สภาวะอารมณ์ (emotion) ที่คงอยู่นาน
เป็นประสบการณ์ภายในเฉพาะตัวที่มีผลต่อการรับรู้
และพฤติกรรมของบุคคลนั้น
5) ความผิดปกติของความคิด
(disturbance of thinking) )
ชนิดที่ 2 ความผิดปกติของกระบวนการคิด
(disturbances in form of thought)
ชนิดท่ี 3 ความผิดปกติของเน้ือหาความคิด
(disturbance of content of thought)
ชนิดท่ี 1 ความผิดปกติโดยรวมของความคิด
(general disturbance in form or process of thinking)
ลักษณะโดยรวมของความคิดที่สามารถบรรยายได้
6) ความผิดปกติของการรับรู้รสสัมผัส
(disturbance of perception)
ชนิดท่ี1 การรับรู้ผิดปกติแบบประสาทหลอน
(hallucination) เป็นการรับรู้แบบผิดพลาด (false)
ชนิดท่ี 2 การรับรู้ผิดปกติแบบประสาทลวง (illusion)
คือ การรับรู้ที่บิดเบือนไปจากสิ่งที่มา กระตุ้นจริง
ชนิดที่ 3 การรับรู้ผิดปกติที่เป็นปรากฎการณ์ conversion และ dissociation
เป็นการรับรู้ ผิดปกติท่ีอาจเกิดจากกลไกทางจิตซึ่งแปรสิ่งที่เก็บกด
อยู่ในจิตไร้สํานึกให้เป็นอาการทางร่างกาย
7) ความผิดปกติของความจํา
(disturbance of memory)
1) amnesia สูญเสียความจํา คือไม่สามารถนึกถึงเหตุการณ์
ท่ีเกิดขึ้นแล้วได้โดยสิ้นเชิงหรือนึกออกเพียงบางส่วน
2) paramnesia คือ ความจําเป็นเท็จเนื่องจากมีการบิดเบือน
ในกระบวนการระลึกความหลัง
แนวคิดการเกิดโรคทางจิตเวชและปัจจัยที่มีความเก่ียว
ข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวช
1)stressdiathesismodelอธิบายว่าการมียีนส์หรือการรวมกนัทางพันธุกรรมที่เฉพาะเจาะจง บางอย่างส่งผลให้เกิดจุดอ่อน หรือเป็นปัจจัยเสี่ยงให้เกิดโรคได้
2) case formulation เป็นการขยายมุมมองจาก stress diathesis model ให้เป็นภาพที่กว้าง ขึ้น โดยพิจารณาปัจจัย 4 ประการ (4 P’s)
ปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการ (precipitating factors) หมายถึง สถานการณ์ สิ่งแวดล้อม ภายนอกที่ทําให้บุคคลเริ่มปรากฏความผิดปกติของโรคทาจิตเวชขึ้น เช่น การใช้สารเสพติด, การนอนหลับ เปลี่ยนแปลง, สอบตก, สัมพันธภาพล้มเหลว ,การมีหนี้สิน
ปัจจัยที่ทําให้อาการคงอยู่ (perpetuating factors)
ปัจจัยเสี่ยง (predisposing factors) หมายถึง สถานการณ์ ส่ิงแวดล้อม เช่น พันธุกรรม, ภาวะโภชนาการ, การเลี้ยงดู, บุคคลิกภาพ, ประการณ์การเจ็บป่วยทางกาย, รายได้
ปัจจัยปกป้อง (protective factors)
นางสาวจุรีพันธ์ เตชะอัศวรักษ์ 180101042
นักศึกษาพยาบาลปีที่3