Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะวิกฤต, นางสาวจุพันธ์ เตชะอัศวรักษ์…
บทที่2
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะวิกฤต
ภาวะวิกฤตหมายถึง
ภาวะชั่วคราวที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลเผชิญกับเหตุการณ์ที่ประเมินและรับรู้ว่ามีความคุกคาม
ภาวะวิกฤต
พัฒนาการวิกฤต (Muturation crisis)
-เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามช่วงวัยต่างๆ ตามกระบวนการเจริญเติบโตเช่นเด็กพลัดพรากจากผู้ปกครองไปเข้าโรงเรียน
วิกฤตที่เกิดจากภัยพิบัติ (Disastar crisis)
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิดอาจเกิดจากธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้นเอง เช่นไฟไหม้ อุทกภัย แผ่นดินไหว ซึนามิ สงคราม
สถานการณ์วิกฤต (situational crisis)
-เกิดขึ้นทันทีทันใดไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้า
เช่นเสียคนรักจากอุบัติเหตุ ,สอบตก
ลักษณะอาการและอาการแสดง
ของบุคคลที่มีภาวะวิกฤต
ระยะที่1 ระยะบุคคลอยู่ในระยะวิกฤต
มีความตึงเครียด
มีความวิตกกังวล
อาการสับสน หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออก รู้สึกผิด โกรธ
ระยะที่2
ระยะฉุกเฉิน
การลองผิดลองถูก (Trial and error attrmpts)
มีภาวะอ่อนไหว (Vulnerable state)
รู้สึกขาดที่พึ่งและหมดหนทาง (Helplessness)
รู้สึกลังเล (ambivalence)
ระยะที่4 ระยะที่บุคคลไม่สามารถรับ
ความตึงเครียดวิตกกังวล (Stress and anxiety)
เมื่อมีมากขึ้นนับเเป็นจุดแตกหัก
สูญเสียความสามารถในการกำหนดปัญหา
ประเมิน แยกแยะความจริง
ระยะที่3
ระยะที่บุคคลอยู่ในภาวะอ่อนไหว
ได้รับการกระตุ้นจากปัจจัยต่างๆ มีอาการและอาการแสดงที่เป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อภาวะวิกฤตในลักษณะต่างๆรุนแรงขึ้น
สาเหตุของภาวะวิกฤติ
การรับรู้ต่อเหตุการณ์วิกฤต
การแก้ไขปัญหา
การแก้ไขปัญหาแบบมุ่งเน้นปัญหา
(Problem focus coping)
การแก้ไขปัญหาแบบมุ่งเน้นอารมณ์
(Emotion focus coping)
เหตุการณ์วิกฤต (Nagative Event)
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะวิกฤต
การวางแผนการพยาบาล
วัตถุประสงค์ระยะสั้น
วัตถุประสงค์ระยะยาว
การประเมินสุขภาพ
การรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล
ประวัติสุขภาพ
ข้อมูลที่ควรให้ความสำคัญ
ประเมินการพยาบาล
เพื่อประเมินผลลัพธ์ การปฏิบัติการพยาบาลตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เพื่อลดความเครียด
ความวิตกกังวล
อาการและอาการแสดง
การปฏิบัตการพยาบาล
เพื่อให้การพยาบาลตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ธรรมชาติภาวะวิกฤต
สามารถปรับเข้าสู่ภาวะสมดุลภายใน4ถึง5สัปดาห์ ในกรณีที่ได้รับการบำบัดรักษาช่วยเหลือหรือได้รับการแก้ไขปัญหาจนระดับความวิตกกังวลและความเครียดลดลงเรียกระยะนี้ว่าระยะหลังวิกฤติ (Post crisis stage)
นางสาวจุพันธ์ เตชะอัศวรักษ์ 180101042
นักศึกษาพยาบาลปี3