Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการหรือวิธีการ ของคนหรือองค์กรในการคิดค้น พัฒนา หลักการยศาสตร์ในแต่ละย…
หลักการหรือวิธีการ ของคนหรือองค์กรในการคิดค้น พัฒนา หลักการยศาสตร์ในแต่ละยุค
ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 (ราวพุทธศตวรรษที่ 5)
ปี พ.ศ.2454 Frederick Winslow Taylor ได้มีการเสนอแนวทางในการดำเนินที่ได้รับหมอบหมาย โดยพบว่า
"วิธีเพิ่มปริมาณการตักถ่านหินให้ได้มากถึง 3 เท่าของปริมาณเดิมที่คนงานเคยตักอยู่เป็นประจำ
"
โดยการลดขนาดและน้ำหนักของพลั่วตัก (Shovel)
พ.ศ. 2454 Frank & Lillian Gilbreath ได้มีการพัฒนาแนวคิด Taylor ต่อ และได้เสนอแนวคิด Time and motion studies เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของงานโดยการพยายามลดขั้นตอน และการกระทำต่างๆที่ไม่จำเป็นออก
ช่วงปี พ.ศ.2342-2425 มีการบัญัติเป็นศัพท์ในพจนานุกรมครั้งแรก โดย วอยส์ไซเอส จาสเซโบว์สกี้ และได้มีการริเริ่มแนวทางการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์แรงงาน
ช่วงวัฒนธรรมของยุคเฮเลนิก (Helenic Civilization) ราวพุทธศตวรรษที่ 5 ได้ใช้หลักการของการยศาสตร์ในการห้องแบบห้องหรือสถานที่ทำงานของแพทย์ผ่าตัด
สงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ.2486-2488)
มีการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดทางด้านการยศาสตร์ คือ เลือกคนให้เหมาะสมกับงาน (Put the right man to the right job)
มีเครื่องมืออุปกรณ์ที่ซับซ้อนขึ้น เช่น เครื่องบินเรดาร์ แต่มีการจำกัดความสามรถของผู้ปฏิบัติ และมีการบูรณาการความรู้ด้านต่างๆเป็นครั้งแรกระหว่างสาขาต่างๆ
ยุคแห่งวิทยาการคอมพิวเตอร์ก้าวหน้า (พ.ศ.2543-ปัจจุบัน)
ยึดหลักการยศาสตร์ในการออกแบบและปรับปรุงอุปกรณ์ สภาพการทำงานและสิ่งแวดล้อมในการทำงานให้มีความเหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน
ปี พ.ศ. 2544 ประเทศไทยได้จัดตั้ง
สมาคมการยศาสตร์ไทย Ergonomics Society of Thailand ขึ้น
ช่วงการเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว (พ.ศ.2503-2523)
เด่นเรื่องกิจกรรมที่เกี่ยวกับการเดินทางไปในอวกาศ จึงกลายเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในช่วงระยะเวลานี้
โรงงาน หรือบริษัท ภาคอุตสาหกรรมให้ความสนใจในการออกแบบสถานที่ทำงานที่เกี่ยวกับการยศาสตร์เพิ่มขึ้น
การกำเนิดของวิชาชีพ (พ.ศ. 2488-2503)
ปี พ.ศ. 2492 ได้มีการจัดตั้ง
สมาคมวิจัยการยศาสตร์
และตีพิมพ์หนังสือเกี่ยวกับการยศาสตร์เล่มแรก ที่ชื่อว่า
Applied Experimental Psychology: Human Factors in Engineering Design
ปี พ.ศ. 2500 ได้มีการพัฒนาวิชาชีพ และก่อตั้งสมาคม
The human factors society ปัจจุบันเรียก The human factors and ergonomic society
หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเริกา ได้จัดตั้ง
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมจิตวิทยา
และได้เกิดวิชาชีพการยศาสตร์ขึ้น
ปี พ.ศ.2504 จัดตั้งสมาคมการยศาสตร์ระหว่างประเทศ
The international ergonomics association
ยุดแห่งคอมพิวเตอร์ (พ.ศ.2523-2543)
สมาคม The human factors society มีจำนวนคนมากขึ้น และการยศาสตร์เป็นที่รู้จักมากขึ้น
กลุ่มอาเซียนได้มีการจัดตั้งกลุ่ม
South East Asian Ergonomics Society (SEAES)
นางสาวรุ่งราวรรณ อุ่นผ่อง 6205101009 เลขที่ 8