Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วงจรอิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้น :zap:, ไดโอด, ทรานซิสเตอร์, ตัวเก็บประจุ,…
วงจรอิเล็กทรอนิกส์
เบื้องต้น
:zap:
:red_flag: การต่อวงจร
อิเล็กทรอนิกส์
ไดโอดธรรมดา
ยอมให้กระแสไหลผ่านทางเดียว
หากต่อกลับด้าน ไฟจะไม่สามารถไหลผ่านได้
ไดโอดเปล่งแสง
ต้องต่อตัวต้านทานในวงจรด้วย
เพื่อลดปริมาณกระแสไฟให้เหมาะกับ
การทำงานของไดโอด เพราะไดโอดใช้ไฟ
เพียงเล็กน้อยเท่านั้น
.
ตัวต้านทานจัดเป็นอุปกรณ์สำคัญของวงจร*
ต่อแบบอนุกรม
สามารถควบคุมการไหลของกระแสไฟได้
ตามความต้องการ
.
.
ในวงจรจะใช้ทั้ง 3 ขาของทรานซิสเตอร์
ในการควบคุมกระแสไฟ/เป็นสวิตช์ปิดเปิด
ถ้ามีกระแสไฟเพียงเล็กน้อยผ่านขาเบส :check:
= หลอดไฟติด
โดยถ้าไม่มีกระแสไฟไหลผ่านขาเบส :red_cross:
= หลอดไฟจะไม่ติด
ชิ้นส่วน :bulb:
อิเล็กทรอนิกส์
เป็นสวิตช์ปิด/เปิดในวงจร
ควบคุมปริมาณกระแสไฟฟ้า
ขยาย/สลับพลังงานไฟฟ้า
ทำจากสารกึ่งตัวนำ
1.ชนิด NPN
ไฟไหลออกขา E :outbox_tray:
2.ชนิด PNP
ไฟไหลเข้าขา E
อุปกรณ์ที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านทางเดียว
และกั้นการไหลในทางตรงข้าม
2.ไดโอดเปล่งแสง
เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า
เป็นพลังงานแสง
1.ไดโอดธรรมดา
เก็บและคายประจุไฟฟ้า
มีหน่วยเป็น "ฟารัด"
ค่าตัวเลขมาก = จุมาก
1.ชนิดคงที่
ชนิดเซรามิก
ขาเท่ากัน = ไม่มีขั้ว
ใช้ได้กับไฟ 50 - 2000 โวลต์
ชนิดไมลาร์
ทนความชื้นและน้ำ
ค่าความจุไม่เปลี่ยนตามความชื้น :red_cross:
ชนิด
อิเล็กโทรไลต์
ค่าความจุสูง คล้ายแบตเตอรี่ :battery:
ใช้กับงานความถี่ต่ำ/สำหรับไฟกระแสตรง
2.ชนิดปรับค่าได้
ชนิดน้ำยา
มีน้ำยาอยู่ภายใน
มีขั้ว = ขาไม่เท่ากัน
ใช้ได้กับไฟ 6.3 - 450 โวลต์
เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่บรรจุ
ชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดจิ๋ว
2.แบบดิจิทัล
ประกอบจากวงจาการทำงานทางดิจิทัลต่างๆ
ทำงานได้กับสัญญาณดิจิทัล
เป็นสวิตช์ในทางดิจิทัล
1.แบบแอนะล็อก
หรือไอซีเชิงเส้น
ขยายสัญญาณ
ควบคุมแรงดันไฟฟ้า
ไดโอด
ทรานซิสเตอร์
ตัวเก็บประจุ
ซิลิคอนชิป/ไอซี
ต่อวงจรตัวต้านทาน
ต่อวงจรไดโอด
ต่อวงจรทรานซิสเตอร์