Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดการพยาบาล (Concept of community) - Coggle Diagram
แนวคิดการพยาบาล (Concept of community)
ลักษณะที่สำคัญของพยาบาลชุมชน
ผสมผสานศาสตร์ ทางสาธารณสุขกับการพยาบาล
เน้ประชากรเป็นฐาน (สุขภาพและสิ่งแวดล้อม)
ใช้ในการปฎิบัติการพยาบาล(ความรู้ทักษาะของศาสตร์ทางสาธารณสุขและทฤษฏีการพยาบาล มุ่งเน้นชุมชนและประชาการเป็นฐาน)
เน้นการป้องกันความสำคัญของการเจ็บป่วยและการสร้างเสริมสุขภาพตลอดจนความผาสุก
ส่งเสริมให้บุคคลเกิดความรับผิดชอบต่อตนเองและดูแลตนเอง เช่น การดูแลตนเองของผู้สูงอายุ
ใช้การวัดและการวิเคราะห์ทางวิทยาการระบาด
ใช้การประสานร่วมมือระหว่างวิชชาชีพและผู้ใช้บริการ
ใช้หลักของการบริหารจัดการ
แนวคิดที่สำคัญเกี่ยวข้องกับการพยาบาลชุมชน
2.การมองชุมชนอย่างเป็นระบบ (Community as a system)
ชุมชนในฐานะผู้ใช้บริการ (Community as a client)
ระบบสังคมของชุมชน เช่น ระบบสุขภาพ ระบบการศึกษา สถาบัน ระบบสันทนาการ และระบบการสื่อสาร
ครอบครัวในฐานะผู้ใช้บริการ (Family as a client)
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion)
การสร้างเสริมการป้องกันสุขภาพ
ช่วยให้สุขภาพชุมชนบรรลุเป้าหมายที่ดีสูงสุด
การให้ความรู้กับผู้บริการตามความต้องการด้านสุขภาพ
เน้นกระบวนการพัฒนาสมรรถนะของบุคคลในการพัฒนาสุขภาพตนเองให้ดีขึ้น
1.สุขภาะชุมชน (community hearth)
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
สอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิตของชุมชน
มิติด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณของชุมชน
ภาวะสุขภาพความต้องการด้านสุขภาพ
เป้าหมายการสร้างเสริมสุขภาพ
มิติกลุ่มเป้าหมาย (Popultion group)
มิติกลุ่มหรือพื้นที่เป้าหมาย (Key setting)
มิติพัฒนาสุขภาพ (Health enhancement)
มิติกลยุทธ์ (Strategies)
บทบาทของบุคลากรทางสาธารณสุขในการสร้างเสริมสุขภาพที่สำคัญ
การสร้างเสริมสุขภาพรวมทั้งพยาบาลชุมชนเพื่อสร้างเสริมความสามารถ (Enable)
การสร้างเสริมสุขภาพรวมทั้งพยาบาลชุมชนเป็นสื่อกลาง (Mediate)
การสร้างเสริมสุขภาพi;,ทั้งพยาบาลชุมชนโดยรณรงค์ผลักดันสังคม (Advocate)
สุขภาพ หมายถึง ภาวะที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณและสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ไม่เพียงแต่ปราศจากโรคและความพิการเท่านั้น
ชุมชน คือ ที่รวมของทุกอย่างที่เกิดจากการปฏิสัมพันธ์ของบุคคล ซึ่งอาจอยู่ในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ร่วมกัน รู้สึกเป็นเจ้าของพื้นที่ร่วมกันหรือการมีค่านิยมและความสนใจร่วมกันได้
ระบบสุขภาพ หมายความว่า ระบบความสัมพันธ์ ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
วิวัฒนาการต้านการพยาบาลอนามัยชุมชน
ต่างประเทศ
มีวิวัฒนาการมาจากการพัฒนาสาธารณสุข และการพยาบาลตามบ้านจากปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ การดูแลผู้ป่วยที่ขากจนโดยนักบวชแม่ชี การสงเคราะห์ผู้ป่วยยากจนของสตรีที่มีเศรษฐีฐานะดีในประเทศทางยุโรปและอเมริกา
ลิเลียน วอลด์ (Lilian Wald)
เป็นผู้ใช้ชื่อพยาบาลสาธารณสุขสำหรับพยาบาลที่ปฏิบัติงานในชุมชน ค.ศ. 1893 ได้ก่อตั้งHenry Street Settlementให้บริการสาธารณสุขแก่นักเรียนและครอบครัวในแหล่งเสื่อมโทรมของนครนิวยอร์ก
ปีค.ศ. 1912 สหรัฐอเมริกาก่อตั้งองค์กรพยาบาลสาธารณสุขแห่งชาติ(National Organization of Public Health Nursing หรือชื่อย่อว่าNOPHN) และสภากาชาด ได้ก่อตั้งการบริการพยาบาลชนบท(Rural nursing service)
ในประเทศ
ระยะแรก (พ.ศ. 2400-2484)
เป็นระยะเริ่มต้นของการสาธารณสุขสมัยใหม่
มุ่งเน้นการสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ
โรงเรียนผดุงครรภ์และอนามัยแมคคอร์มิค พ.ศ. 2466
เน้นการพัฒนาด้านการแพทย์
การสร้างโรงพยาบาลศิริราชและโรงเรียนแพทย์ พ.ศ. 2431
-โรงเรียนผดุงครรภ์และหญิงพยาบาล พ.ศ. 2439
โรงเรียนพยาบาลของสภากาชาดไทย พ.ศ. 2457
ระยะที่สอง (พ.ศ. 2485-2499)
มีพยาบาลประจำสุขศาลา (สถานีอนามัย) ในชนบท
ในเขตเมืองมีเทศบาลเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ และมีพยาบาลประจำสุขศาลาของเทศบาลเรียกว่า พยาบาลสาธารณสุข
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้รับความร่วมมือกับWHO และองค์กรเกี่ยวกับการสงเคราะห์เด็กแห่งสหประชาชาติในการพัฒนางานด้านสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข
พยาบาลสาธารณสุขทั่วไป (ปฏิบัติงานตามเขตการปกครอง)
กระทรวงสาธารณสุข เกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2485
พยาบาลสาธารณสุขเฉพาะสาขา (รับผิดชอบตามกลุ่มที่มีปัญหา เช่น อนามัยโรงเรียน และควบคุมโรคติดต่อเป็นต้น)
เป็นระยะที่การสาธารณสุขของประเทศขยายตัวอย่างรวดเร็ว
ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2500-ปัจจุบัน)
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 การสาธารณสุขมุ่งเน้นเรื่องการมีส่วนร่วมของชุมชน ทำให้การศึกษาการพยาบาลเริ่มเปลี่ยน
โครงสร้างหลักสูตรที่เน้นการดูแลชุมชนมากขึ้น
หลักสูตรระดับปริญญาตรี โท สาขาการพยาบาลอนามัยชุมชน และพัฒนามาเป็นการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน เพื่อสอดคล้องกับหลักประกันสุขภาพดีถ้วนหน้าแห่งชาติ โดยสามารถปฏิบัติกรพยาบาลในชุมชนที่มีลักษณะการพยาบาลขั้นสูงได้
เน้นงานวางแผนอนามัยครอบครัว (ประมาณปี พ.ศ. 2513)
การสาธารณสุข (Public Health) วินสโลว์ บิดาแห่งการสาธารณสุข
การสาธารณสุข หมายถึง วิทยาศาสตร์และศิลปะแห่งการป้องกันโรคการทำให้คนมีอายุยืนยาว การยกระดับภาวะสุขภาพอนามัยและประสิทธิภพของบุคคล โดยได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากชุมชนเพื่อสุขภาพและการมีชีวิตยืนยาว
บทบาทหน้าที่พยาบาลอนามัยชุมชนในระบบสุขภาพใหม่
บริการด้านการป้องกันโรค ส่งเสริมสุขภาพ และฟื้นฟูสภาพ มีการให้บริการตามบ้าน บริการในชุมชน
บทบาทหน้าที่พยาบาลอนามัยชุมชนในระบบสบภาพใหม่การพัฒนาบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ต้องการบริการที่เรียกว่า "ใกล้บ้าน ใกล้ใจ"คือบริการที่สะดวก บริการที่คุณภาพดี เป็นที่เชื่อถือยอมรับ และพอใจของผู้ใช้บริการ เพื่อให้มาใช้บริการระดับปฐมภูมิก่อนไม่ข้ามขั้นรับบริการระดับทุติยภูมิ หรือตติยภูมิโดยไม่จำเป็น บริการระดับปฐมภูมิจัดบริการ
การพัฒนาบริการสุขภาพชุมชนจากเดิมมีบทบาทหน้าที่ให้บริการเชิงรุก
"ใกล้บ้าน"เซน สถานีอนามัยหรือศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์สุขภาพ หรือจัดสถานบริการขึ้นใหม่ตามวัตถุประสงค์เดียวกัน "ใกล้ใจ"คือการพัฒนาคุณภาพบริการ พัฒนาผู้ให้บริการ ระบบบริการ และปัจจัยเอื้อต่าง ๆ
Roles of Community Health Nursing
Counselor
Researcher
Manager
Chang agent
Advocator
Leader
Health educator
Co-ordinator
Health Care provider
Collaborator
แนวทางปฏิบัติงานด้านการพยาบาลอนามัยชุมชน
พัฒนาศักยภาพในการช่วยตนเอง ครอบครัวและชุมชน
ประชาชนเป็นคนสำคัญที่สุด ในการตัดสินใจแก้ปัญหาของตนเองครอบครัว และชุมชน พยาบาลเป็นผู้แนะนำทางเลือกที่เหมาะสมพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติที่จะต้องนำไปปฏิบัติได้ถูกต้อง
ให้ความสำคัญปัญหาที่มีผลกระทบต่อคนส่วนใหญ่
การดูแลต่อเนื่อง ต่อเนื่องในด้านภาวะสุขภาพ ตั้งแต่เจ็บป่วยจนหายป่วย ฟื้นฟูจนอยู่ในภาวะปกติสมบูรณ์แข็งแรงต่อเนื่องตามวัย
ใช้กระบวนการพยาบาล หรือกระบวนการแก้ปัญหา ในการดำเนินงานและทำงาน เป็นวงจรต่อเนื่องตั้งแต่ขั้นศึกษาปัญหาจนถึงประเมินผลแผนระยะสั้น หรือแผนระยะยาว
ดูแลทุกคนในชุมชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเสี่ยง ไม่จำกัดเชื้อชาติศาสนา สถานภาพทางเศรษฐกิจ และสังคม