Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นวัตกรรมทางการพยาบาลสาธารณสุข - Coggle Diagram
นวัตกรรมทางการพยาบาลสาธารณสุข
ประเภท
การสร้างนวตักรรมสาธารณสุขใหม่และเป็นนวตักรรมทคี่น้พบโดยเนน้การค้นหาความคิดใหม่
ตามลักษณะการใชน้วตักรรมจนเกดิผลิตภัณฑที่ใช้ในการบรกิารพยาบาลชุมชนซ่งึ ผู้ใชบ้รกิาร จะเป็นผทู้บี่อกสิ่งที่ต้องการหรือถอดบทเรียนหรือเล่าประสบการณ์ที่ได้รับ
เป็นกระบวนการบรกิารพยาบาลซ่งึส่วนใหญ่เกดิจากแนวคดิใหม่ ๆ
ลักษณะของความเป็นนวัตกรรมสาธารณสุข
การใหบ้รกิารแบบใหม่หรอืมกีารคดิคน้วธิกีารใหบ้รกิารใหม่เป็นสงิ่ใหม่ที่ใช้การได้ใช้งานได้จริง คุ้มค่าคุ้มทุนก่อให้เกิดการเรียนรู้และมีผลลพัธ์ที่ดี
เป็นบริกการที่นำวิธีการจดัการระบบมาใช้ในการประเมนิกระบวนการและผลลพัธ์ก่อนและหลงัการเปลี่ยนแปลง
บรกิารที่ใช้การประดิษฐ์อุปกรณ์ช่วยให้การให้บริกิาร
บริการที่แสดงออกถึงความคดิสร้างสรรคในการให้บริการ
บริการเดิมหรืออุปกรณ์เดิมที่มีอยู่มาปรับเปลี่ยนปรัปรุงคดัแปลงต่อยอดจากของเดิม
แนวคิดหรือทฤษฎี
นำกรอบแนวคดิของ Lean Government นนั้มาใชใ้นการพฒันาโดยจะต้องมอีงคป์ระกอบที่ สำคญั 3 ส่วนซ่ึงจะต้องมีน้ำหนักเท่า ๆ
ประชาชนได้รับประโยชน์สุข
กระบวนการมการลดความสูญเสียในการทำงาน
ผู้ปฏิบัตังิานไม่เป็นการสร้างภาระให้กับผู้ปฏิบิตังาน
หลักการของ GECC เนื่องจากศูนย์บริการสาธารณสุข 25 ห้วยขวางได้ผ้่านการประเมินมาตรฐานศูนยร์าชการสะดวกในปี 2561 จงึมุ่งเน้นการพฒันาบริการที่“ สะดวก รวดเร็ว เข้าถึงง่าย” อย่างสม่ำเสมอ
แนวทางการพัฒนานวัตกรรมสาธารณสุข
กำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพฒันานวตักรรมสาธารณสุข
คิดรูปแบบการพฒันานวตักรรมสาธารณสุขรูปแบบการพฒันานวตักรรมสาธารณสุข
รูปแบบที่ 1 ใช้ความรู้เดิมวิธีการเดิมขยันทำให้มากขึ้นผลงานพัฒนาขึ้นใหม่
รูปแบบที่ 2 ใช้ความรู้เดิมวิธีการใหม่ (เก่าจากที่อื่น) ผลงานพัฒนาขึ้นใหม่
รปูแบบที่ 3 ใช้ความรู้เดิมวิธีการใหม่ (ใหม่จากที่อื่น) ผลงานพัฒนาขึ้น
รปูแบบที่ 4 ใช้ความรู้ใหม่วิธีการเดิมผลงานพัฒนาขึ้นใหม่
รปูแบบที่ 5 ใช้ความรู้ใหม่วิธีการใหม่ผลงานพัฒนาขึ้นใหม่
ดำเนินการตามวิธีคีดรูปแบบการพฒันานวตักรรมสาธารณสุข
สรปุตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2503-2509)
พ.ศ. 2503 เริ่มใช้กลวธิการพฒันาชุมชนในการปรับปรงุสุขาภบิาลหมู่บ้าน
ระหว่าง พ.ศ. 2504-2506-2509 ในระยะสามปีแรก (พ.ศ. 2504-2506) นนั้ แผนพฒันาการ เศรษฐกจิแห่งชาตฉิบบัเดมิไดก้ าหนดนโยบาย เป้าหมาย การเงนิ และโครงการพฒันาการเศรษฐกจิ และสงัคมต่าง ๆ
ในด้านการสาธารณสุขนนั้ มีการสรา้งโรงพยาบาลใหม่ๆ เพิ่มขึ้นหลายแห่ง
แผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514)
เน้นการสร้างสาธารณูปโภค บริการสาธารณสุขในระดับอำเภอและระดบัตำบล
รฐัมีนโยบายจะขยายบริการสาธารณสุขให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตชนบทที่ห่างไกล
เป้าหมายที่สำคญัในด้านนี้ด้านการเพมิ่จำนวนแพทย์พยาบาล เตียงคนไข้และสถานีอนามัย
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519)
เป็นแผนแรกที่ให้ความสำคัญกับการพฒันาสังคม พ.ศ. 2515 ปรับปรุงส่วนราชการกระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่1
พ.ศ. 2517 ปรบัปรุงส่วนราชการกระทรวงสาธารณสุขครงั้ที่2
ให้ความสำคญัในการใหบริการแบบผสมผสาน เน้นการอนามยัแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว
การควบคุมโรคติดต่อมีการให้การรักัษาโดยไม่คิดเงินแก่ผู้มีรายได้น้อยเป็นครั้งแรก (รักษาฟรี แก่ผู้มีรายได้น้อย)
อัตราการตายของมารดาทารกยังอยู่ เน้นการอนามัยแม่และเดก็
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524)
เน้นการขยายการผลผลิตด้านการเกษตร
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529)
เน้นการแก้ไขปัญหาความยากจน พฒันาชนบท ส่งเสรมิบทบาทและความร่วมมือจากภาคเอกชน
กองทุนบัตรสุขภาพ กองทุนพัฒนาหมู่บ้าน อตัราการเพมิ่ของประชาชนเหลือ
รอ้ยละ 2.04 พ.ศ. 2527 เป็นครงั้แรกทพี่บผปู้่วย HIV/AIDS
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534)
แนวโน้มไปสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของชุมชนและองคกร
จดัระบบส่งต่อเพื่อรองรับงานสาธารณสุขมูลฐานและการส่งต่อของสถานบริการทุกระดับในระบบบริการสุขภาพของประเทศปรับเปลี่ยนรูปแบบและหลกัเกณฑข์องกองทุนบตัรสุขภาพ เริ่มแนวคิดหลักประกนัสุขภาพ รณรงค์การควบคุมโรคเอดส์
รฐัได้ให้ค้วามส าคญัอย่างมากในการพฒันาดา้นอุตสาหกรรมเพ่อืใหไ้ทยกลายเป็นหนึ่งในประเทศ อุตสาหกรรมใหม่ (NICs, Newly Industrialized Countries)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที 7 (พ.ศ. 2535-2539)
เน้นการเจรญิด้านเศรษฐกจิและการกระจายรายได้ภูมิภาค ปัญหาสิ่งแวดลอ้มมากขึ้นจึงให้ความสำคัญในการพฒันาทรพัยากรมนุษย์คุณภาพชวีติ และสิ่งแวดลอ้ม
ดำเนินโครงการทศวรรษแห่งการพัฒนาสถานีอนามัย ขยายหลกัประกันสุขภาพจนสามารถครอบคลุมประชากรไดม้ากกว่า 2 ใน 3 การประกอบอาชพีจากเกษตรกรรม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที 8 (พ.ศ. 2540-2544)
เน้นการพฒันาศกัยภาพคนด้านสุขภาพและพลานามยั ให้ความสำคญักับการพฒันาคนอย่างเป็นองคร์วมทงั้กาย ใจ และสติปัญญา
มุ่งเน้นการปรบัเปลยี่นพฤตกิรรมเพอ่ืการส่งเสรมิสุขภาพและป้องกนัโรค
ส่งเสรมิการกระจายอ านาจและการบรหิารจดัการงานสาธารณสุขมูลฐานให้กับองคก์รปกครอง ทอ้งถิ่น
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที 9 (พ.ศ. 2545-2549)
ยังเน้นคนเป็นศนูยก์ลางปรบัปรงุให้เป็น แผนพฒันาสุขภาพแห่งชาตื
รฐับาลประกาศนโยบายสุขภาพแห่งชาติ(30 บาทรักษาทุกโรค)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที 10 (พ.ศ. 2550-2554)
เป้าหมายคอืการพัฒนาสุขภาพไทยไปสู่ระบบสุขภาพพอเพียงสอดคลอ้งกับปัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง คือ ยึดทางสายกลาง มีความสมดุลพอดีรู้จักพอประมาณ การมีเหตุผล มีรีะบบภูมคุ้มกัน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที 11 (พ.ศ. 2555-2559)
เป็นแผนยุทธศาสตรท์ชี้นำทศิทางการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่วิสัยทศัน์ระยะยาว ที่ทุกภาคส่วนในสังคมไทย ได้เหน็พอ้งร่วมกันกำหนดเป็นวิสัยทัศน์ปี พ.ศ. 2570
กรอบแนวคดิการพัฒนาประเทศในระยะแผนพฒันาฯ ฉบับที่ 11 จึงมีแนวคิดที่ต่อเนื่องจาก แผนพฒันาฯ ฉบับที่ 8-10 โดยยังคงยดึหลกัการปฏบิตัติาม “ปรชัญาของเศรษฐกจิพอเพียง”
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ . ศ. 2560-2564)
ให้ความสำคัญกับการกำหนดทิศทางการพฒันาที่มุ่งสู่การเปลยี่นผ่านประเทศไทยจากประเทศ ที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมนั่คง และยั่งยืน
วางรากฐานการพฒันาประเทศไปสู่สงัคมทมี่คีวามสุขอย่างมนั่คง มงั่คงั่ และยงั่ยนื สอดคลอ้ง ตามยุทธศาสตรช์าติ 20 ปี ที่เป็นกรอบการพฒันาประเทศในระยะยาว รัฐบาลมนีโยบายในการสร้างความมั่นคงและเข้มแข็งให้กับระบบเศรษฐกิจของประเทศ