Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 เทคนิคการบริหารการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่3 เทคนิคการบริหารการพยาบาล
การจูงใจและการพึงพอใจในงาน
การจูงใจ คือ แรงที่ผลักดันให้เกิดพฤติกรรมที่จะกระทำการใดๆให้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
ประเภทของการจูงใจ
1.การจูงใจแบบนิมาน หรือการจูงในแบบใช้ไม้นวม เป็นการจุใจให้บุคคลปฏิบัติงานโดยใช้แรงเสริมทางบวก
2.การจูงใจแบบนิเสธ หรือการจูงใจแบบใช้ไม้แข็ง เป็นการจูงใจให้บุคคลปฏิบัติงานโดยใช้แรงเสริมทางลบ
สิ่งจูงใจ คือ สิ่งที่กระตุ้นให้บุคคลเกิดแรงจูงใจพึงพอใจในการปฏิบัติงาน แบ่งเป็น 2ประเภท 1.สิ่งจูงใจภายนอก จับต้องได้ เช่น รางวัล ค่าจ้าง เงินเดือน 2.สิ่งจูงใจภายใน จับต้องไม่ได้ เช่น ความรู้สึกประสบความสำเร็จ
ทฤษฎีการจูงใจในการบริหารงาน
1.ทฤษฎีระดับความต้องการของมสโลว์
2.ทฤษฎีจูงใจว่าด้วย ERG ของอัลเดอร์เฟอร์
3.ทฤษฎีความต้องการประสบความสำเร็จของแมคแคลแลนด์ และแอทคินสัน
4.ทฤษฎีการจูงใจของ แมกเกรเกอร์
5.ทฤษฎีจูงใจของเฮอรซเบอร์ก
6.ทฤษฎีแรงเสริมของสกินเนอร์
7.ทฤษฎีความคาดหวังของรูม
8.ทฤษฎีความชอบธรรม
9.ทฤษฎีตั้งเป้าหมาย
ความพึงพอใจในงาน คือ ภาวะอารมณ์ทางบวกที่มีต่อการทำงาน
วิธีการจูงใจ
1.เทคนิคการควบคุมงาน
2.การใช้อำนาจหน้าที่
3.การจูงใจโดยการให้ผลตอบแทน
4.การมีส่วนร่วมในการบริหารงาน
5.การออกแบบงาน
6.เทคนิคการจูงใจอื่นๆ
บทบาทผู้บริหารการพบาบาลในการจูงใจ
1.การจูงใจตนเอง
2.การจูงใจผู้อื่น
3.การจัดสภาพแวดล้อมที่จูงใจการทำงาน
4.การพัฒนาวิชาชีพให้ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง
5.หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่บั่นทอนแรงจูงใจ
การสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารเป็นกระบวนการที่ทำให้ข้อสารข้อมูล สารสนเทศถูกส่งผ่านจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เพื่อให้เข้าใจตรงกัน
จุดมุ่งหมายของการสื่อสารในการบริหารพยาบาล
1.เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการบริการงาน
2.เป็นเครื่องมือช่วยสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจที่ดีทั้งภายในและภายนอก
3.การมอบหมายหน้าที่
4.เป็นเครื่องมือในการควบคุมการปฏิบัติงานตามขอบเขต
5.ช่วยให้เกิดการพัฒนาและการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
กลวิธีการสื่อสารในองค์กร
กระบวนการสื่นสาร
1.แหล่งข่าว
2.การเข้ารหัส
3.ข่าวสาร
4.ช่องทาง
5.การถอดรหัส
6.ผู้รับข่าวสาร
ึึ7.ข้อมูลย้อนกลับ
ประเภทของการสื่อสารในองค์กร
1.ช่องทางการติดต่อสื่อสารที่เป็นทางการ
2.ช่องทางการติดต่อต่อสื่อสารที่ไม่เป้นทางการ
3.เส้นทางของการติดต่อสื่อสารภายในองค์กร
4.การติดต่อสื่อจากล่างขึ้นบน
5.การติดต่อสื่อสารในแนวนอนหรือการติดต่อสื่อสารนระดับเดียวกัน
6.การสื่อสารในแนวทแยง
ึ7.การสื่อสารกับสังคมภายนอก
8.การติดต่อสื่อสารที่ไม่ใช้คำพูด
9.การจัดการความรู้
การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
1.ข่าวสารหรือข้อความนั้นต้องชัดเจนแน่นอน
2.กระตุ้นให้เกิดความสนใจและมีส่วนร่วม
3.วิธีการส่งข่าวสารหรือข้อความที่เหมาะสม
4.มีแรงจูงใจ
5.มีการประเมินผล
อุปสรรคของการสื่อสารในองค์กร
1.ขนาดขององค์กร
2.ความแตกต่างของเพศ วัย ฐานะ
3.การเลือกวิธีการสื่อสารที่ไม่เหมาะสม
4.การบริหารจัดการที่ไม่เหมาะสมของระบบการสื่อสารขององค์กร
5.อุปสรรคที่เกิดจากความเข้าใจไม่ชัดเจน
6.อุปสรรคที่เกิดจากอารมณ์
การเปลี่ยนแปลงและความขัดแย้ง
การเปลี่ยนแปลง เป็นกระบวนการที่ไม่อยู่นิ่ง ทำให้บางสิ่งบางอย่างเกิดความแตกต่างจากเดิมอย่างชัดเจน
ประเภทของการเปลี่ยนแปลง
1.การเปลี่ยนแปลงโดยไม่มีการวางแผน เกิดขึ้นทันทีทันใด มักจะได้รับการต่อต้าน
2.การเปลี่ยนแปลงโดยการวางแผน เป็นการตั้งใจ ผ่านการพิจารณาอย่างรอบคอบ
การต่อการเปลี่ยนแปลง ทำให้ความสมดุลของกลุ่มเสียไป ดังนั้น การต่อต้านจึงเป็นปฏิกิริยาตามธรรมชาติ
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง
1.ทฤษฎีการให้เหตุผล
2.ทฤษฎีใช้อำนาจบังคับ
การบริหารการเปลี่ยนแปลง ผู้บริหารต้องมีความรู้ ทักษะ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง เพื่อสามารถบริหารการเปลี่ยนแปลงให้เกิดผลดีตามความคาด
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลง
1.ปัจจัยภายใน เช่น ความต้องการของผู้บริหาร
2.ปัจจัยภายนอก เช่น ปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคม
กลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิภาพ
1.การใช้ข้อมูลทางการวิจัยที่ทันสมัย
2.ใช้อิทธิพลของกลุ่มเพื่อในการให้ความรู้ในการเปลี่ยนแปลง
3.ใช้อิทธิพลของผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ความขัดแย้ง ความไม่เห็นด้วยในเรื่องต่างๆระหว่างบุคคล กลุ่ทบุคคล หรือองค์กร
ประเภทของความขัดแย้ง
1.ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล
2.ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
3.ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม
สาเหตุของความขัดแย้ง
1.ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล
2.ความขัดแย้งระหว่างบุคคลและระหว่างกลุ่มคนในองค์กร
3.ความขัดแย้งทางการพยาบาล
กระบวนการของความขัดแย้ง
1.มีสถานการณ์นำไปสู่ความขัดแย้ง
2.ถ้าความขัดแย้งยังอยู่ จะเข้าสู่การรับรู้ว่าทีความขัดแย้งเกิดขึ้น
3.เกิดความรู้สึกขัดแย้ง
4.การแสดงความขัดแย้ง
5.การแก้ไขหรือการจัดการกับความขัดแย้ง
6.ผลของความขัดแย้ง
กลยุทธ์ความขัดแย้ง
1.การหลีกเลี่ยง
2.การปรองดอง
3.การต่อสู้
4.การรู้ร่วมมือร่วมใจ
5.การเจรจาต่อรองหรือการประนีประนอม