Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นวัตกรรมทางการพยาบาลสาธารณสุข - Coggle Diagram
นวัตกรรมทางการพยาบาลสาธารณสุข
แนวคิดการสร้างนวัตกรรมสาธารณสุข
ความสำคัญ
เพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการบริการพยาบาล
เพื่อสร้างความรู้ใหม่
เพื่อช่วยจัดการความเสี่ยง
เพื่อเสริมสร้างพลังอานาจและคุณค่า
เพื่อเป็นการธำรงไว้ซึ่งความเป็นเอกลักษณ์
เพื่อลดค่าใช้จ่ายหรือลดการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง
เพื่อเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง
เพื่อประสานความร่วมมือ
ความหมาย
แนวคิด กระบวนการ หรือสิ่งประดิษฐ์ที่เกิดขึ้นจากการผสมผสานความคิดริเริ่มสร้างสรรค์บนฐานของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ให้เป็นผลงานที่นาไปสู่การแก้ปัญหา
ปรเภท
ใช้นวัตกรรมจนเกิดผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการบริการพยาบาลชุมชน
ส่วนใหญ่เกิดจากแนวคิดใหม่ๆ (Idea generation)
การสร้างนวัตกรรมสาธารณสุขใหม่และเป็นนวัตกรรมที่ค้นพบโดยเน้นการค้นหาความคิดใหม่
นวัตกรรมสาธารณสุขไทยสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า
ลักษณะของความเป็นนวัตกรรมสาธารณสุข
1) การให้บริการแบบใหม่
2) นำวิธีการจัดการระบบมาใช้ในการประเมินกระบวนการและผลลัพธ์ก่อนและหลังการเปลี่ยนแปลง
3) บริการที่ใช้การประดิษฐ์อุปกรณ์ช่วยให้การให้บริการ
4) บริการที่แสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์
5) บริการเดิมหรืออุปกรณ์เดิมที่มีอยู่มาปรับเปลี่ยน
การบรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้า เป็นบริการของรัฐ(BHS) จะต้องเชื่อมต่อกับระบบบริการสาธารณสุขโดยประชาชน (PHC) ได้เป็นอย่างดีทั้ง 2 ระบบมีความสาคัญอย่างเท่าเทียมกันและต้องมีความเชื่อมต่อประสานซึ่งกันและกัน
แนวทางการพัฒนานวัตกรรมสาธารณสุข
1) กำหนดกลุ่มเป้าหมาย
4 ลักษณะ
สุขภาพดีตามวัย
ภาวะเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย
กลุ่มที่เจ็บป่วยเรื้อรัง
กลุ่มด้อยโอกาส
2) คิดรูปแบบการพัฒนานวัตกรรม
5 รูปแบบ
4.ใช้ความรู้ใหม่วิธีการเดิมผลงานพัฒนาขึ้นใหม่
1.ใช้ความรู้เดิมวิธีการเดิมขยันทำให้มากขึ้นผลงานพัฒนาขึ้นใหม่
5.ใช้ความรู้ใหม่วิธีการใหม่ผลงานพัฒนาขึ้นใหม่
2.ใช้ความรู้เดิมวิธีการใหม่ (เก่าจากที่อื่น) ผลงานพัฒนาขึ้นใหม่
3.ใช้ความรู้เดิมวิธีการใหม่ (ใหม่จากที่อื่น) ผลงานพัฒนาขึ้น
3) ดำเนินการตามวิธีคิดรูปแบบการพัฒนานวัตกรรมสาธารณสุข
บทบาทพยาบาลกับนวัตกรรม
ด้านคิดค้นนวัตกรรม หรือวางแผนใช้นวัตกรรม
มีส่วนร่วมหรือร่วมวางแผน
เลือกใช้นวัตกรรมในการแก้ปัญหาให้เหมาะสมกับพื้นที่ เหตุการณ์ และช่วงระยะเวลา
ไม่มีสูตรสำเร็จตายตัว
ด้านเป็นผู้ใช้นวัตกรรม
ข้อดี ข้อเสีย
เน้นกระบวนการเรียนรู้ นวัตกรรมมากกว่าผลงาน
ด้านการประเมินผล
ประเมินผลนวัตกรรมแต่ละอย่าง อย่างเป็นระบบ ระเบียบ
ระยะเรมิ่ แรก ควรติดตาม นิเทศ อย่างใกล้ชิดและประเมินผลเป็นระยะๆ
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 1 (พ ศ 2503-2509)
พ ศ 2503 การปรับปรุงสุขาภิบาล
พ ศ 2504-2506 กำหนดนโยบาย เป้าหมาย การเงิน และโครงการพัฒนาการเศรษฐกิจ
พ ศ 2507-2509 ผลิตบุคลากรสาธารณสุขให้เพียงพอ
ฉบับที่ 2 (พ ศ 2510-2514)
บริการสาธารณสุขในระดับอำเภอและระดับตำบล
เพิ่มการผลิตแพทย์และพยาบาล
โครงการพัฒนาการสาธารณสุข
ฉบับที 10 (พ ศ 2550-2554)
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ยึดทางสายกลาง มีความสมดุลพอดี รู้จักพอประมาณ การมีเหตุผล มีระบบภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทันโลก
ฉบับที 9 (พ ศ 2545-2549)
คนเป็นศูนย์กลาง
30 บาทรักษาทุกโรค
ฉบับที่ 4 (พ ศ 2520-2524)
ผสส
อสม
3 ก
ฉบับที 8 (พ ศ 2540-2544)
เน้นการพัฒนาศักยภาพคนด้านสุขภาพและพลานามัย
ฉบับที่ 5 (พ ศ 2525-2529)
ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ)
กองทุนบัตรสุขภาพ กองทุนพัฒนาหมู่บ้าน
โครงการหมู่บ้านพึ่งตนเอง
พบผู้ป่วย HIV/AIDS
ฉบับที 11 (พ ศ 2555-2559)
ยังคงยึดหลักการปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เสมอภาค ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
ฉบับที่ 6 (พ ศ 2530-2534)
ประเทศอุตสาหกรรม มีการส่งเสริม พัฒนาคุณภาพและศักยภาพของชุมชนและองค์กร
จัดระบบส่งต่อ
รณรงค์การควบคุมโรคเอดส์
อุตสาหกรรมใหม่ (NICs, Newly Industrialized Countries)
ฉบับที่ 12 (พ ศ 2560-2564)
มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน
ฉบับที่ 3 (พ ศ 2515-2519)
พ ศ 2515 ปรับปรุงส่วนราชการกระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 1
พ ศ 2517 ปรับปรุงครั้งที่ 2
เรื่องการขาดแคลนเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะแพทย์และพยาบาล
การอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว
การให้การรักษาโดยไม่คิดเงินแก่ผู้ที่มีรายได้น้อยเป็นครั้งแรก
อัตราการตายของมารดาทารก
ฉบับที 7 (พ ศ 2535-2539)
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม
วิวัฒนาการ
พ ศ 2505 กองมาลาเรีย
พ ศ 2507-2509 การดำเนินโครงการสารภี
พ ศ 2520-2524 สาธารณสุขมูลฐาน,การอบรม ผสส /อสม,ยาและเวชภัณฑ์มูลค่า 500 บาทและพัฒนา 3 ก
พ ศ 2523 กฎบัตร,การสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care = PHC)
พ ศ 2525-2529 เน้นการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้าน และสนับสนุนให้มีกำลังพัฒนา
พ ศ 2525 โครงการหมู่บ้านพึ่งตนเอง
พ ศ 2526 โครงการกองทุนบัตรสุขภาพและ จปฐ
พ ศ 2527 รณรงค์สาธารณสุขมูลฐานแห่งชาติ,กองทุนหมู่บ้าน
พ ศ 2529 ตั้งกองทุนพัฒนาชนบท
พ ศ 2527-2530 ขยายพื้นที่ดำเนินงานกองทุนบัตรสุขภาพ
พ ศ 2528 (Mini Thailand) และขยายอาเภอเร่งรัดพัฒนาคุณภาพชีวิต (Mini Province),ระบบบริการสาธารณสุข (Basic Health Services = BHS),การพัฒนาระบบส่งต่อ (Referral System) จัดตั้งโรงพยาบาลสาขา (Extended OPD)
พ ศ 2528-2530 ปรช
พ ศ 2529 คปสอ
พ ศ 2530-2534 พัฒนาปรับเปลี่ยน รูปแบบ หลักเกณฑ์ กองทุนบัตรสุขภาพ
พ ศ 2535-2539 ทสอ,หลัก 3 ส.และทศวรรษการแพทย์แผนไทย
พ ศ 2540-2544 การสาธารณสุขเชิงรุก,โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ,โครงการเมืองน่าอยู่,โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ และการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล