Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นวัตกรรมทางการพยาบาลสาธารณสุข - Coggle Diagram
นวัตกรรมทางการพยาบาลสาธารณสุข
แนวคิดการสร้างนวัตกรรมสาธารณสุข
ความหมายและความสำคัญ
หมายถึง แนวคิด กระบวนการ หรือสิ่งประดิษฐ์
ที่เกิดขึ้นจากการผสมผสานความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
บนฐานของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
ความสำคัญและความจำเป็น
1.เพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการบริการพยาบาล
2.เพื่อสร้างความรู้ใหม่ในการให้บริการพยาบาล
3.เพื่อลดค่าใช้จ่ายหรือลดการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง
4.เพื่อประสานความร่วมมือกับหุ้นส่วนทางด้านสุขภาพ
5.เพื่อช่วยจัดการความเสี่ยงและสนับสนุนการลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพผู้ใช้บริการ
6.เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจและการมีคุณค่าของพยาบาล
7.เพื่อเป็นการธำรงไว้ซึ่งความเป็นเอกลักษณ์
และสานต่อองค์ความรู้
8.เพื่อเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลงที่มุ่งเน้น
ประเภทของนวัตกรรม
1)การสร้างนวัตกรรมสาธารณสุขใหม่และ
เป็นนวัตกรรมที่ค้นพบโดยเน้นการค้นหาความคิดใหม่
2)ตามลักษณะการใช้นวัตกรรมจนเกิดผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการบริการพยาบาลชุมชนซึ่งผู้ใช้บริการ
3)เป็นกระบวนการบริการพยาบาล
แนวคิดใหม่ —> รับโอกาสพิจารณา —> ประเมินแนวคิด
—> ได้รับพิจารณา —> พัฒนาเป็นระบบในเชิงพาณิชย์
บทบาทของพยาบาลกับนวัตกรรมสาธารณสุข
ด้านคิดค้นนวัตกรรมหรือวางแผนใช้
มีส่วนร่วมในการคิดค้นนวัตกรรมหรือร่วมวางแผน
ด้านผู้ใช้นวัตกรรม
ยึดหลักสาธารณสุขมูลฐาน โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้นวัตกรรมมากกว่าผลงาน
ด้านการประเมินผล
ประเมินอย่างเป็นระบบระเบียบ และมีการนำเสนอผลการประเมินไปยังหน่วยงานมี่เกี่ยวข้อง
วิวัฒนาการของสาธารณสุขไทย
พ.ศ.2505 กองมาลาเรียได้ดำเนินการ
โครงการอาสาสมัครมาลาเรีย
พ.ศ.2507-2509 การดำเนินโครงการสารภี ให้ปชช.
มีส่วนร่วมในรูปแบบ ผผส. อสม. และกระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ.2520-2524 กระทรวงสาธารณสุขเริ่มดำเนินแผนงานสาธารณสุขมูลฐาน พัฒนา 3 ก. (กำลังคน กองทุน และบริหารจัดการ)
พ.ศ.2523 ไทยลงนามในกฎบัตรเพื่อการพัฒนาสาธารณสุข โดยสนับสนุนการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care/PHC)
พ.ศ.2525 โครงการหมู่บ้านพึ่งตนเอง
พ.ศ.2525-2529 กระทรวงสาธารณสุขได้ขยายการอบรม ผสส./อสม., ส่งเสริมการตัดตั้งกองทุน เน้นพัฒนาการศักยภาพของหมู่บ้านและสนับสนุนให้มีการลงพัฒนา
โดยชาวบ้านด้วยกันเอง
พ.ศ.2526 โครงการกองทุนบัตรสุขภาพ
พ.ศ.2527 รัฐบาลประกาศเป็นปีรณรงค์สาธารณสุขมูลฐานแห่งชาติ
พ.ศ.2529 รัฐบาลจัดตั้งกองทุนพัฒนาชนบท
พ.ศ.2527-2530 ขยายพื้นที่ดำเนินงานกองทุนบัตรสุขภาพ
พ.ศ.2528 พัฒนาระบบบริการสาธารณสุข (Basic Health Services/BHS)
พ.ศ.2528-2530 รัฐบาลประกาศเป็นปีรณรงค์คุณภาพชีวิต
ของประชาชนในชาติ (ปรช.)
พ.ศ.2529 ชมรมแพทย์ชนบทและชุมรมสารธารณาสุขอำเภอ
พ.ศ.2530-2534 พัฒนาปรับเปลี่ยนกองทุนบัตรสุขภาพ, เพิ่มพื้นที่การดำเนินงาน จังหวัดเร่งรัดพัฒนาคุณภาพชีวิต, การพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
พ.ศ.2535-2539 ดำเนินการโครงการทศวรรษแห่งการพัฒนาสถานีอนามัย (ทสอ.), โครงการปรับโฉมสถานบริการสาธารณสุข หลัก 3 ส. (Smile Smell Surrounding)
พ.ศ.2540-2544 เน้นการดำเนินการสาธารณสุขเชิงรุก, โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ, โครงการเมืองน่าอยู่, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ, การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
นวัตกรรมสาธารณสุขไทยสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า
1.การให้บริการแบบใหม่หรือมีการคิดค้นวิธีการให้บริการใหม่เป็นสิ่งที่ใช้งานได้จริง คุ้มค่าคุ้มทุนก่อให้เกิดการเรียนรู้และมีผลลัพธ์ที่ดี
2.เป็นบริการที่นำวิธีการจัดการระบบมาใช้ในการประเมินกระบวนการและผลลัพธ์ก่อนและหลังการเปลี่ยนแปลง
3.บริการใช้การประดิษฐ์อุปกรณ์ช่วยในการให้บริการ
4.บริการที่แสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ในการให้บริการ
5.บริการเดิมหรืออุปกรณ์เดิมที่มีอยู่มาปรับเปลี่ยนปรับปรุงดัดแปลงต่อยอดจากของเดิม
สรุปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ
ฉบับที่ 1 (2503-2509) เริ่มใช้กลวิธีการพัฒนาชุมชนในการปรับปรุงสุขาภิบาลหมู่บ้าน
ฉบับที่ 2 (2510-2514) เน้นการสร้างสาธารณูปโภค บริการสาธารณสุขในระดับอำเภอและระดับตำบล
ฉบับที่ 3 (2515-2519) ปรับปรุงส่วนราชการกระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 1 พ.ศ.2517 ปรับปรุงครั้งที่ 2, มีปัญหาเรื่องการขาดแคลนเจ้าหน้าที่, เน้นการอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว
ฉบับที่ 4 (2520-2524) ให้ประชาชนแก้ปัญหาเอง, มีการปรับปรุงระบบบริการสาธารณสุขร่วมกันทั้งภาครัฐและเอกชน, กำหนดการขยายบริการให้ครอบคลุม 100%, เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน, มีการพัฒนาเจ้าหน้าที่ระบบบริการและระบบ
ฉบับที่ 5 (2525-2529) เน้นการแก้ไขปัญหายากจน พัฒนาชนบท พัฒนาสาธารณสุข เน้นการมีส่วนร่วมของปชช. มีการกำหนดความจำเป็นพื้นฐาน มีโครงการหมู่บ้านพึ่งตนเอง, กองทุนบัตรสุขภาพ กองทุนพัฒนาหมู่บ้าน, เป็นครั้งแรกที่พบPt. HIV/AIDS
ฉบับที่ 6 (2530-2534) แนวโน้มไปสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรม พัฒนาคุณภาพและศักยภาพชุมชนและองค์กร รณรงค์ในเรื่องคุณภาพชีวิต, จัดระบบส่งต่อ, รณรงค์การควบคุมโรคเอดส์
ฉบับที่ 7 (2535-2539) เน้นการเจริญด้านเศรษฐกิจและการกระจายรายได้สู่ภูมิภาค ให้ความสำคัญในการพัฒนาทรับพยากรมนุษย์ คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม, ดำเนินโครงการทศวรรษแห่งการพัฒนาสถานีอนามัย
ฉบับที่ 8 (2540-2544) เน้นการพัฒนาศักยภาพคนด้านสุขภาพและพลานามัย, เกิดแนวคิดการปฏิรูประบบสุขภาพขึ้น, มีการเคลื่อนไหวจัดทำร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติขึ้น
ฉบับที่ 9 (2545-2549) รัฐบาลประกาศนโยบายสุขภาพแห่งชาติ (30 บาทรักษาทุกโรค)
ฉบับที่ 10 (2550-2554) เป้าหมายคือการพัฒนาสุขภาพไทยไปสู่ระบบสุขภาพพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เน้นภูมิปัญญาไทย การพึ่งพาตนเอง และมนุษย์เสมอกัน
ฉบับที่ 11 (2555-2559) ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เป้าหมาย
1.การหลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางสู่สูง
2.การพัฒนาศักยภาพคนให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศและการสร้างสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ
3.การลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
4.การสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
5.การบริหาราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ