Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล - Coggle Diagram
หน่วยที่ 3
เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล
การประเมินผลทางการพยาบาลที่สําคัญ
การประเมินผลบุคลากร (Evaluation of Nursing Personnels)
การประเมินงาน (Nursing Care)
วิธีการประเมินผลการพยาบาล
การประเมินตามโครงสร้าง (Structure)
การประเมินตามกระบวนการ (Process)
การประเมินตามผลลัพธ์ (Outcome)
การประเมินผล
การพยาบาลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
การประกันคุณภาพการพยาบาล (Quality Assurance for Patient Care)
การตรวจสอบทางการพยาบาล (Nursing Audit)
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารงาน
มนุษยสัมพันธ์หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ที่มุ่งให้เกิดความเข้าใจอันดี
ต่อกัน อันจะนํามาซึ่งความร่วมมือ ประสานงานกันในการดําเนิน กิจการต่าง ๆอย่างได้ผลและมีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์
องค์ประกอบเกี่ยวกับการรู้จักตน(Self)
องค์ประกอบเกี่ยวกับการเข้าใจบุคคลอื่น
องค์ประกอบด้าน
สภาพแวดล้อม
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการพยาบาล
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ระหว่างบุคคลสามฝ่าย คือผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชาและ
เพื่อนร่วมงาน ต่างก็มีความสัมพันธ์ต่อการปฏิบัติงานในองค์กรทั้งสิ้น
การจูงใจและความพึงพอใจในงาน
การจูงใจคือแรงที่ผลักดันให้เกิดพฤติกรรมที่
จะกระทําการใด ๆ ให้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
ประเภทของการจูงใจ
การจูงใจแบบนิมาน (Positive Motivation)
การจูงใจแบบนิเสธ (Negative Motivation)
ทฤษฎีการจูงใจในการบริหารงาน
ทฤษฎีระดับความต้องการของมาสโลว์(Maslow,s Hierarchy of Needs Theory)
ทฤษฎีการจูงใจว่าด้วย ERG ของอัลเดอร์เฟอร์(Alderfer, s ERG Motivation Theory)
ทฤษฎีความต้องการประสบผลสําเร็จของแมคแคลแลนด์และแอทคินสัน (The Need toAchieve Theory)
ทฤษฎีการจูงใจของเฮอรซเบอร์ก (Herzberg,s Motivation - Hygiene Theory)
ทฤษฎีการจูงใจของ แมกเกรเกอร์(Mc Gregor Theory X and Theory Y)
ทฤษฎีแรงเสริมของสกินเนอร์
ทฤษฎีความคาดหวังของรูม (Expectancy Theory )
ทฤษฎีความชอบธรรม (Equity Theory)
ทฤษฎีการตั้งเป้าหมาย (Goal Setting Theory)
การสื่อสารภายในองค์กร
การสื่อสารเป็นกระบวนการที่ทําให้ข่าวสารข้อมูล สารสนเทศ(Information) ถูกส่งผ่าน
จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เพื่อให้เข้าใจตรงกัน หรือเพื่อให้ความคิด (Idea)
ประเภทของการสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารที่เป็นทางการ
การติดต่อสื่อสารที่ไม่เป็นทางการ
การเปลี่ยนแปลง
เป็นกระบวนการที่ไม่อยู่นิ่ง ซึ่งทําให้บางสิ่งบางอย่างเกิดความแตกต่างจากเดิม
อย่างชัดเจน
ผู้นําการเปลี่ยนแปลง
คือบุคคลซึ่งสร้างสรรค์ความคิดสําหรับการควบคุมการเปลี่ยนแปลงอาจเป็นบุคคลในองค์กรหรือนอกองค์ก็ได้
คุณลักษณะและคุณสมบัติของผู้นําการเปลี่ยนที่ดี
มีทักษะในการติดต่อสื่อสารที่ดีเยี่ยม
ได้รับการยอมรับจากสมาชิกในและนอกองค์กร
เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลง
รู้จักการทํางานของกลุ่ม
เป็นที่เชื่อถือไว้วางใจ
ร่วมในกระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างแข็งขัน
เป็นผู้มีอํานาจมีความเชี่ยวชาญมีอํานาจตามตําแหน่งหน้าที่
ประเภทของการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงโดยไม่มีการวางแผน
การเปลี่ยนแปลงโดยการวางแผน
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง
ทฤษฎีการให้เหตุผล (Empirical-Rational Theory)
ทฤษฎีใช้อํานาจบังคับ (Power-Coercive Theory)
ความขัดแย้ง
ความไม่เห็นด้วยในเรื่องต่าง ๆ ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กร อาจ
เป็นเรื่องเล็กน้อยจนถึงเรื่องที่มีความสําคัญมาก อาจเกิดขึ้นเป็นเวลาสั้น ๆ หรือคงอยู่เป็นเดือนเป็นปีหาก
ประเภทของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล (Intrapersonal Conflict)
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล (Interpersonal Conflict)
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม (Intergroup Conflict)
การบริหารความขัดแย้ง
การที่ผู้บริหารการพยาบาลจะสามารถบริหารความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับ
กระบวนการของความขัดแย้ง
มีสถานการณ์ที่นําไปสู่ความขัดแย้ง ก่อนเกิดความขัดแย้งมีสถานการณ์ที่ทําให้เกิดความขัดแย้ง
เช่น การขาดแคลนบุคลากร
ถ้าความขัดแย้งยังคงอยู่ต่อไป จะเข้าสู่ขั้นของการรับรู้ว่ามีความขัดแย้งเกิดขึ้น
เกิดความรู้สึกขัดแย้ง เมื่อมีความรู้สึกขัดแย้งจะเกิดอารมณ์ต่าง ๆ เช่น ไม่เป็นมิตร
การแสดงความขัดแย้ง บุคคลจะแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมา เช่น เงียบเฉย
การแก้ไขหรือจัดการกับความขัดแย้ง วิธีการที่ดีคือ การทําให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความพึงพอใจ
ผลของความขัดแย้ง อาจเป็นผลดีหรือผลเสีย
กลยุทธ์ในการบริหารความขัดแย้ง
การปรองดอง (Accommodating)
การต่อสู้(Competing)
การหลีกเลี่ยง (Avoiding)
การรู้ร่วมมือร่วมใจ (Collaborating)
การเจรจาต่อรองหรือการประนีประนอม (Negotiating or Compromising)