Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนในการสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและความก้าวหน้า…
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนในการสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและความก้าวหน้าของสังคมไทย
การสร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ไทย
นิโกลาส์ แชรแวส
เดินทางมาเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เขียนบันทึกเรื่อง ประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม
เป็นชาวฝรั่งเศส
ให้ข้อมูลด้านภิมิศาสตร์ขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย ศาสนา ราชสำนักไทย
พระสัฆราชปาลเลอกัวซ์
มีโอกาสเดินทางไปหัวเมืองต่างๆ
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทย คือ เล่าเรื่องกรุงสยาม
เข้ามาเผยแผ่ศาสนาและพำนักในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับการศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสังคมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
เป็นบาทหลวงชาวฝรั่งเศส
ซีมง เดอ ลาลูแบร์
เดินทางเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เขียนจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ ราชอาณษจักรสยาม
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ วิถีชีวิต และราชสำนักไทยสมัยอยุธยา
เป็นทูตชาวฝรั่งเศส
เฮนรี เบอร์นีย์
เดินทางมาเจรจาทางการทูตสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ได้บันทึกรายงานการเจรจาทางการทูตและข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทยเสนอต่อรัฐบาลอังกฤษ
เอกสารเฮนรี เบอร์นีย์
เป็นทูตอังกฤษ
ข้อมูลเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาด้านความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอังกฤษ
ฟาน ฟลีต หรือ วัน วลิต
พ่อค้าชาวฮอลันดาที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาทอง
ได้บันทึกหลักฐานสำคัญเกี่ยวกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของไทย สมัยอยุธยยา
เรื่อง พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม
พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
จดหมายเหตุฟาน ฟลีต
เซอร์จอห์น เบาว์ริง
เดินทางมาเจริญสัมพันธไมตรีกับไทยในต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เขียนหนังสือ ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม
ทางด้านภูมิศาสตร์ ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา ศาสนา เศรษฐกิจ
เกี่ยวกับประเทศไทยในอดีต
เอกอัครราชทูตพิเศษชาวอังกฤษ
การแพทย์
หมอเฉาส์
ช่วยเหลือการรักษาคนไข้จำนวนมาก
รักษาเมื่อเกิดอหิวาตกโรคในกรุงเทพ เมื่อ2392
เป็นมิชชันนารีชาวอเมริกัน
เป็นแพทย์คนแรกที่นำวิธีการผ่าตัดโดยใช้ยาสลบมากรักษาผู้ป่วยในประเทศไทย
ซอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์
กลับมาสอนนักเรียนแพทย์ฝึกหัดชาวไทยที่โรงเรียนแพทยาลัย(ศิริราช)
เปิดคลินิกรักษาโรคฟันใน 2485
จบการศึกษาด้านแพทย์ศาสตร์และฝึกหัดทำฟันจากสหรัฐอเมริกา
พระบาทสมเด็จพรงมงกุฎเกล้าเจ้าอยุ่หัวพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระอาจวิทยาคม
เป็นบุตรของมัชชันนารีชาวอเมริกาในไทย
หมอบัดเดย์
นำความรู้ทางแพทย์แผนตะวันตกเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทย
เริ่มการรักษาด้วยวิธีการทำการผ่าตัดในประเทศไทยครั้งแรก
จบวิชาการแพทย์ศาสตร์จากอเมริกา
เผยแพร่การปลูกผีและแีดวัคซีน
เป็นมิชชันนารีชาวอเมริกันรุ่นแรกๆที่เดินเข้ามาเผยแผ่สาสนาในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
การศึกษา
นางแฮร์เรียล เฮาส์
เปิดโรงเรียนสำหรับหญิงแห่งแรกในประเทศไทย(กุลสตรีวังหลัง)
เมื่อนางเฮาส์เดินทางกลับสหรัฐอเมริกาแล้ว นางสาวเอดนา ซาราห์โคลเป็นกำลังสำคัญให้โรงเรียนเจริยก้าวหน้า
ภรรยา ดร.เฮาส์
ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
บาทหลวงเอมิล ออกุสต์ กอลมเบิร์ต
เจ้าอาวาสวัดอัสสัมชัญ
ก่อตั้งโรงเรียนประจำวัด(อัสสัมชัญ) ปัจจุบันคือ โรงเรียนอัสสัมชัญ
ชาวฝรั่งเศษ
ดร.ซามูเอล อาร์. เฮาส์ และ ศาสนาจารย์สตีเวน แมตตูน
ต่อมาพัฒนาเป็นโรงเรียนชายแห่งแรกของประเทศไทย
กรุงเทพคริสเตียนในปัจจุบัน
เป็นโรงเรียนสำหรับเด็กที่สำเหร่
เจษฎา ฟ.ฮีแลร์
เข้ามาเผยแผ่ศาสนาในประเทศไทย
เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กไทย
ภราดาชาวฝรั่งเศสในคณะภราดาเซนต์คาเบรียล
มีการสร้างโรงเรียนที่จัดให้มีการสร้างโรงเรียนที่จัดการศึกษาโดยคณะภราดาเซนต์คาเบลียลหลายแห่ง ทั้งในเขตกรุงเทพฯ แต่ต่างจังหวัด
นามเดิม ฟรังซัว ตูเวอเนต์
ศิลปกรรม
นายคาร์ล ดอริง
นายช่างประจำกรมรถไฟ
เป็นผู้ออกแบบวังวรดิศ ตำหนักบางขุนพรหม และพระราชนิเวศน์
สถาปนิกชาวเยอรมัน
นายโกลี
จิตรกรชาวอิตาลี
ผู้วาดภาพจิตรกรรมเพดานพระที่นั่งอนันตสมาคม และภาพจิตรกรรม พระอุโบสถวัดราชาธิวาสราชวิหาร
ศาสตราจารย์ศิลป์ พระศรี
เป็นผู้รอบรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ศิลป์ การวิจารย์ศิลปะและปรัชญา
โดยเฉพาะความสามารถทางศิลปะแขนงประติมากรรมและจิตกรรม
เป็นศิลปินชาวอิตาลี ชื่อ คอร์ราโด เฟโรซี
ผลงานสำคัญ
ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปกรและบุกเบิกการสอนศิลปะในประเทศไทย
ออกแบบและควบคมการหล่อพระราชานุสาวรีย์และอนุสาวรีย์สำคัญของประเทศไทย