Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การสร้างหนังสือสำหรับเด็ก - Coggle Diagram
บทที่ 6
การสร้างหนังสือสำหรับเด็ก
วิธีการสร้างหนังสือ
พิจารณาในด้านการสร้าง
สร้างโดยรับจากต่างประเทศ
รับมาโดยตรงทั้งภาษา
และภาพประกอบ
รับทั้งเรื่องและรูปภาพมา
รับมาเฉพาะเค้าโครงเรื่อง
สร้างเรื่องและภาพ
เป็นของไทยโดยตรง
บทกล่อมเด็ก บทปลอบเด็ก
วรรณกรรมเก่าๆ
เกร็ดประวัติศาสตรฺ
วัฒนธรรม ประเพณี
นิทานต่างๆ เช่น พื้นบ้าน ชาดก สุภาษิต
สิ่งแวดล้อม
สุภาษิต คำพังเพย
ความรู้เกี่ยวกับเมืองไทย
ความคิดของผู้เขียนเอง
พิจารณาลักษณะของหนังสือ
หนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อส่งเสริมความรู้
ด้านต่างๆ มีการใช้ภาพเป็นส่วนประกอบ
71 จังหวัด
ตะเพียนเข้ากรุง
80 วัน รอบโลก
ป่าแสนสวย
หนังสือชุดสวนสัตว์อนุชน
แม่โพสพ
ฟันของเรา
หนังสือชุดความรู้ไทย
นิทานสัตว์รอบโลก
จากลูกคิดสู่คอมพิวเตอร์
หนังสือการ์ตูน
เป็นหนังสือที่ใช้ภาพในการดำเนินเรื่อง
ภาพที่ใช้ก็เป็นภาพการ์ตูน
ชุดการ์ตูน
ตู๊กตา
เบบี้
หนูจ๋า
ขายหัวเราะ
การ์ตูนชุดสามเกลอ
การ์ตูนหนูเล็กลุงโกร่ง
หนังสือชัยพฤษ์ตู๊นฅูน
การ์ตูนยี่เกเรื่องหลวิชัย-คาวี
หนังสือสำหรับเด็ก
ที่เน้นด้านเนื้อเรื่อง การใช้ภาษา แนวคิด ต้องการปลูกฝังให้เกิดในตัวเด็ก จะใช้รูปภาพเป็นส่วนประกอบ ภาพจะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยฅู่กับวัยและจุดมุ่งหมายในการสร้าง
หนูนุ่นเที่ยวทะเล
หนูนิดผู้น่ารีก
นกนางเขน
เรื่องของม่าเหมี่ยว
โลกของหนูแหวน
ฉันคือต้นไม้
จันทร์เจ้าขา
หลักเกณฑ์ในการสร้างหนังสือ
ขนาดความยาว
ตัวละคร
อายุ สมันกับชื่อตัวละครต้องไปด้วยกัน
ควรหลีกเลี่ยงชื่อ
ที่ออกเสียงคล้ายๆกัน
ชื่อตัวละครต้องสอดคล้องสมจริง
ชื่อตัวละครที่มีความขบขัน
มีชีวิตชีวาสมจริง
ตัวละครมีบุคลิกเฉพาะตัว เด่นชัด
เรื่องที่มีตัวละครเป็นสัตว์พูดได้
การใช้ภาษา
ภาษาร้อยแก้ว
ภาษาร้อยกรอง
ชื่อเรื่องเป็นเรื่องที่พิถีพิถัน
ชื่อเรื่องที่บอกให้รู้ว่า เรื่องนั้นเป็นอย่างไร
คำที่น่าสนใจสำหรับตั้งชื่อเรื่อง เช่น วิเศษ มหัศจรรย์
เนื้อเรื่องในหนังสือสำหรับเด็ก
สร้างความรู้สึกทางอารมณ์ด้านต่างๆ
เป็นเรื่องสนุกสนาน เพลิดเพลิน
ดึงดูดความสนใจ
เนื่้อเรื่องมีตัวอย่างประกอบ
เนื้อเรื่องมีสาระ เด็กได้รับประโยชน์จากการอ่าน
ส่งเสริมสติปัญญา
มีเค้าโครงเรื่องน่าสนใจ
ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
ขมวดเรื่องอย่างสละสลวย
มีสรุปเนื้อความสำคัญ
ดำเนินเรื่อทันใจ ไม่เยิ่นเย้อ
ถ้าเรื่องยาว ควรแบ่งออกเป็นตอนๆ
ตัวอักษรหรือตัวหนังสือ
สีของตัวหนังสือ
ขนาด
นักเขียนหนังสือสำหรับเด็ก
รู้ว่าจุดที่จะทำให้เด็กเกิดอารมณ์ขัน
เล่านิทานเป็น
รู้ในความรู้สึกอ่อนโยนและความละเอียดอ่อนของเด็ก
มีเด็กอยู่ในหัวใจ นึกสนุกตามโลกของเด็ก
เข้าใจลึกซึ้งถึงจิตใจของเด้ก
มองดูโลกที่บรรเจิง
สามารถจดจำเหตุการณ์ สมัยที่ตนยังเป็นเด็กได้
รู้ว่าเด็กชอบหรือไม่ชอบอะไร
ตื่นตัวอยู่เสมอ
มีความขะมักเขม้นในการทำงาน
เข้าใจธรรมชาติของเด็ก
มีระเบียบแบบแผนในการทำงาน
ความจริงใจและซื่อตรง
เข้าใจลักษณะของหนังสือ
ความละเอียดลออ
มีความรู้เกี่ยวกับการเขียนหนังสือ
ภาพ
ควรมีภาพมากกว่าตัวหนังสือ
ภาพที่ตรงกับเนื้อหา
เข้ากับสิ่งแวดล้อมและความเพลิดเพลิน
แสดงเน้นถึงความหมาย
มีความหมายเข้าใจง่าย
มีลักษณะงดงาม สะดุดตา
ภาพเป็นที่ชัดเจน ไม่ซับซ้อน
ภาพที่มีการเคลื่อนไหว มีชีวิตชีวา
เป็นภาพที่ถูกต้องในเรื่องขนาดและสัดส่วน
ภาพที่ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
ภาพจะต้องมีจุดมุ่งสำคัญเพียงจุดเดียว
ภาพจะต้องให้รายละเอียดอย่างเพียงพอ
ภาพที่ช่วยให้เห็นเค้าโครงเรื่อง
เป็นภาพที่ช่วยสร้างอารมณ์
ขั้นตอน
ในการลงมือสร้างหนังสือ
ออกแบบตัวหนังสือ
ทำรูปเล่มลำลอง
ที่สมบูรณ์
อภิธานศัพท์
เนื้อเรื่องเรียงลำดับแต่ต้นจนจบ
ปกใน
กิจกรรม แบบฝึกหัด
ใบรองปก
ดรรชนีค้นคำ
ปก
ใบรองปกหลัง
ปกหลัง
10.นำต้นแบบที่สมบูรณ์เรียบเรียงเข้าโรงพิมพ์
เรียบเรียงเรื่องที่จะเขียน
ตามโครงเรื่องที่วางไว้
ตั้งชื่อเรื่องและวางโครงเรื่อง
ตั้งจุดมุ่งหมายว่าจะเขียนหนังสือประเภทใด
การจัดหน้า หรือมำดัมมี่
3.ศึกษาการเผยแพร่
จากสำนักพิมพ์
หน่วยงานต่างๆของรัฐ
สำนักพิมพ์ของเอกชนและรัฐวิสาหกิจ
องค์การต่างๆ
ศึกษาเกี่ยวกับความรู้ หลักการ
1.เกิดแรงบันดาลใจ เกิดความคิด