Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบประสาท ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง…
บทที่ 8 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบประสาท
ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
วัตถุประสงค์
อธิบายพยาธิสภาพของการเกิดโรค ในผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบประสาทระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
อธิบายขั้นตอนการประเมินอาการทางระบบประสาทได้
บอกอาการและอาการแสดงของผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบประสาท ระยะเฉียบพลันและเรื้อรังได้
บอกการรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบประสาท ระยะเฉียบพลันและเรื้อรังได้
บอกการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบประสาท ระยะเฉียบพลันและเรื้อรังได้
เนื้อหาประกอบด้วย
• Introduction : การประเมิน
อาการทางระบบประสาท
• 8.1 Infection :
Meningitis
Encephalitis
Brain abscess
• 8.2 Non infection
Seizure
การประเมินทางระบบประสาท
การซักประวัติ
-ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติที่พบบ่อย เช่น
• อาการปวดศีรษะ ตามัว อาเจียน
• อาการชัก อาการซึมลง
• ความผิดปกติในการพูด เช่น พูดล าบาก พูดตะกุกตะกักพูดไม่ชัด
• อาการของการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
การประเมินทางระบบประสาท
ประวัติเกี่ยวกับพฤติกรรม และบุคลิกภาพที่เปลี่ยนแปลงไปเช่น อาการหลงลืม สติปัญญา
ประวัติเกี่ยวกับการเจ็บป่วยอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท
ซึ่งมีผลต่อกระบวนการคิด และระดับความรู้สึก ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น โรคเนื้องอกในสมอง
ประวัติเกี่ยวกับแบบแผนการด าเนินชีวิต พฤติกรรมบางอย่างส่งผลต่อภาวะความเจ็บป่วยได้ เช่น การใช้สารเสพติด
การประเมินจากการตรวจร่างกายทางระบบประสาท
การประเมินผู้ป่วยทางระบบประสาทแบบเร็วที่
สามารถประเมินการเปลี่ยนแปลงการท างานของระบบประสาท
เบื้องต้นเป็นพื้นฐาน โดยมีรายละเอียดดังนี้ ระดับการรู้สึกตัว
ประสาทสมอง การเคลื่อนไหว การรับความรู้สึก
การประเมินเกี่ยวกับกระบวนการคิด จะมีการประเมินสภาพทั่วไปและหน้าที่ของการคิดรู้
การประเมินเกี่ยวกับการรู้สติการประเมินเกี่ยวกับการรู้สติ มักหมายถึง การประเมินเพื่อดูระดับการรู้สติ (Level of Consiousness) หรือ ระดับความรู้สึกตัวของบุคคลนั้น
การประเมินทางระบบประสาท
Olfactory nerve
Optic nerve
Oculomotor nerve
Trochlear nerve
Trigeminal nerve
Abducens nerve
Facial nerve
1 more item...
ระดับความรู้สึกตัว
(Level of Consiousness)
Stupor เป็นระยะที่ซึมมาก หลับมากกว่าตื่น ต้องกระตุ้นด้วยความเจ็บจึง
จะลืมตา หรือปัดป้อง
Semicoma เป็นอาการกึ่งหมดสติ หลับตลอดเวลา ตอบสนองต่อความ
เจ็บแรง ๆ อาจมีการขยับแขน ขาหนี อย่างไร้ทิศทาง และมีรูม่านตายังมปฏิกริยาต่อแสงอยู่
Confusion เป็นภาวะที่สูญเสียความสามารถในการคิด มีความสับสน
Full or Alert เป็นภาวะที่มีระดับการรู้สติเป็นปกต
Coma เป็นภาวะที่หมดสติ ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นอื่น ๆ นอกจาก
ความเจ็บปวดอย่างรุนแรง ในลักษณะเกร็ง reflex ต่าง ๆ อาจมีอยู่หรือ
การวัดส่วนที่มีพยาธิสภาพของสมอง
(focal neurologicalsigns)
3.1 ลักษณะของรูม่านตา (pupils)
• 3.2 การเคลื่อนไหวและก าลังของแขนขา (movement of
the limbs and motor power)
การตรวจการท างานของการรับความรู้สึก ( Sensory Function)
รีเฟล็กซ์ (Reflex function) ประเมิน deep tendon reflexes
โดยใช้ไม้เคาะ reflexes ที่ตรวจได้จะแบ่งเป็น 4 เกรด
• 4+ มีปฏิกิริยาอย่างมาก (Hyperactive)
• 3+ มีปฏิกิริยามากกว่าปกติ
• 2+ ปกติ
• 1+ มีปฏิกิริยาน้อยกว่าปกติ
• 0 ไม่มีปฏิกิริยา
การตรวจอาการของการระคายเยื่อหุ้มสมอง (Signs of
meningeal irritation)
คอแข็ง (Stiff neck )
Brudzinki’s sign
Kenig sign
การประเมินสภาพผู้ป่วยทางระบบประสาท จะต้องประเมินจากหลายด้าน
รวมกัน ได้แก่
การวัดระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย (coma scale)
การวัดสัญญาณชีพ (vital signs)
การวัดส่วนที่มีพยาธิสภาพของสมอง (focal neurological signs)
การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย(Neurodiagnostic Studies)
1Glasgow Coma Scale : GCS
1.1 การลืมตา (eye opening) : E
1.2 การสื่อภาษาที่ดีที่สุด (best verbal response) : V
1.3 การเคลื่อนไหวที่ดีที่สุด (best motor response) : M
การวัดสัญญาณชีพ (Vital signs)
การหายใจแบบ Cheyne-Stoke respiration
Apneutic Breathing
การหายใจแบบ Central neurogenic hyperventilation
Biot’s or Artaxic Breathing
Cluster Breathing
การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย
การถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะ
และกระดูกสันหลัง
(Skull and spine radiographic)
การถ่ายภาพสมองด้วยคอมพิวเตอร์
(Computed Tomography : CT)
การถ่ายภาพโดยใช้คลื่นเสี่ยง (Magnetic Resonance
Imaging: MRI)
การเจาะหลัง (Lumbar puncture)
การตรวจคลื่นสมอง (Electroencephalogram : EEG)
การฉีดสารทึบแสงเข้าเส้นเลือดสมอง (Cerebral angiography)
การวัดความดันในกะโหลกศีรษะอย่างต่อเนื่อง (ContinuousIntracranial Pressure Monitoring)
การติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลาง
(Infection)
พยาธิสรีรวิทยา
เชื้อโรคสามารถเข้าสู่เยื่อหุ้มสมองได้หลายทาง ที่ส าคัญ
ได้แก่ ทางกระแสเลือด เป็นการติดเชื้อที่มาตามกระแสเลือดทั้งทางกระแสเลือด เป็ นการติดเชื้อที่มาตามกระแสเลือดทั้งระบบเลือดแดง
หรือระบบเลือดดำ
การติดเชื้อโดยตรงจากภายนอกเข้าสู่ subarachnoid space
การติดเชื้อที่ลุกลามไปจากแหล่งติดเชื้อที่อยู่ใกล้สมอง และไขสันหลัง
การแพร่กระจายทางละอองอากาศจากการไอ จาม เข้าสู่ mucosa ของรู
จมูกแพร่ไปตาม เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 เข้าสู่สมอง
อาการและอาการแสดง เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
• มีอาการไข้และปวดศีรษะ ส่วนใหญ่มักมีไข้สูง หนาวสั่น และมี
อาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง• มีอาการของเยื่อหุ้มสมองถูกระคายเคือง (meningeal
irritation) คือ มีอาการคอแข็งตึง (stiff neck)• มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง ท าให้มีอาการปวดศีรษะ
คลื่นไส้ อาเจียน ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง จากอาการสับสนจนถึงหมดสติ และอาจตายได้จาก brain herniation)
การตรวจวินิจฉัย เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
• การตรวจน้ าไขสันหลัง
• การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร
การรักษา การรักษามี 2 อย่างคือ
การรักษาตามอาการ2. การรักษาเฉพาะ