Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาผู้ป่วยจิตเวชด้วยไฟฟ้า - Coggle Diagram
การรักษาผู้ป่วยจิตเวชด้วยไฟฟ้า
การรักษาด้วยไฟฟ้า เป็นการรักษาทางจิตเวชโดยใช้กระแสไฟฟ้าจำนวนจำกัด ผ่านเข้าสมองในระยะยเวบาจำกัด ทำให้เกิดการชักเกร็งทั้งตัว (Tonic-Clonic หรือ Grand seizure ) ทำให้ความผิดปกติทางจิตลดลงในบางชนิด เชน่ depression , mania ,schizophrenia เป็นต้น
ผลข้างเคียงของการทำ ECT
มีความดัน
โลหิตสูง หรือต่ำไม่สม่ำเสมอ
มีการเต้นของหัวใจผิดปกติอาจเต้นช้าหรือเร็วมากกว่าปกติ
ชักนานเกินไปอาจมีขากรรไกรแข็ง หรือหยุดหายใจ
หลังทำ
ช่วงสั้นพบมีอาการสับสน มึนงง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และคลื้นไส้
ข่วงระยะยาว ความจำบกพร่อง หลงลืม
ลักษณะการชักแบบ Grand Mal Convulsion
Unconscious phase ระยะหมดสติ 1-2 วินาท
Tonic phase ระยะกล้ามเนื้อเกร็ง 5-15 วินาที
Clonic phase ระยะกล้ามเนื้อกระตุก 10-60 วินาที
Apnea phase ระยะหยุดหายใจ 1-2 วินาที
Sleep phase ระยะหลับ 5 นาที
Confuse phase ระยะงุนงง สับสน 15-30 นาที
กลไกการออกฤทธิ์
ทำให้ปริมาณของ "Antideperssion" ในร่างกายเพิ่มขึ้น ซึ่งทำให้อาการของโรคซึมเศร้าหายไป
มีการออกฤทธิืบางอย่างเหมือนกันกับยากันชัก (Anticonvalsant) บางตัวซึ่งมีฤทธิ์ต้านอาการซึมเศร้าและต้านอาการคลุ้มคลั่ง
ECT จะกระตุ้น noradrenergic system ทำให้ Dopamine sensitivity เพิ่มขึ้นและลด Serotonin uptake
มีการเพิ่มการตอบสนองต่อ serotonergic agonist ทำให้ผู้ตั้งสมมติฐานว่า ECT ทำให้มีการเพิ่มขึ้นของ serotonergic fanction
ชนิดของการทำ ECT
1.Unmodified ECT
การพยาบาลขณะรักษา ECT
ให้ผู้ป่วยนอนราบบนเตียง ไม่หนุนหมอน
ใช้ผ้าห่ม หรือหมอนรองใต้เอวผู้ป่วย
ให้ออกซิเจนทางจมูก
ใส่ Mouth gag
จับคางให้ผู้ป่วยหงายขึ้น จับให้มั่นคงเพื่อป้องกันขากรรไกรค้าง เคลื่อน
การพยาบาลหลังรักษา ECT
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายราบ พักประมาณ 30-60 นาที
วัดสัญญาณชีพ
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ระวังการหยุดหายใจ อุบัติเหตุจากอาการมึนงงสับสน
เช็ดหน้าผู้ป่วยด้วยผ้าขนหนูเปียก เพราะผู้ป่วยจะเหงื่อออกจากการชัก
ทดสอบความรู้สึกตัวของผู้ป่วย โดยเรียกชื่อผู้ป่วยเพื่อให้รู้สึก
ให้ความรู้ใหม่แก่ผู้ป่วย (Reorientation)
2.modified ECT
โดยใช้ยานำสลบ
ขั้นตอนในการทำ ECT
Pretreatment evaluation
การประเมินผู้ป่วยก่อนให้การรักษาด้วย ECT ประวัติโรคประจำตัว ประวัติการรักษา ด้วย ECT ในครั้งก่อนการแพ้ยา โดยเฉพาะยาสลบ และยาคลายกล้ามเนื้อ (succinylcholine)
การทำงาน ของหัวใจ ปอด ระบบความดันโลหิต
การตรวจช่องปากและฟัน เพราะผู้ป่วยบางคนมีฟันปลอม หรือฟันที่หลวมอยู่ซึ่งอาจหลุด เข้าไปในคอ และขัดขวาง การหายใจได้
การตรวจหน้าที่ของสมอง memory , orientation , และ abstract thinking
การตรวจทางห้องปฏบิติ
CBC UA เพื่อประเมิน renal function
Electrolytes potasium ที่สูง จะมีผลต่อ หัวใจโดยตรง ถ้า potasium ต่ำ อาจฟื้นจากยาสลบช้า
EKG , CXR เพื่อหาความผดิปกตขิองหัวใจและปอด โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ
full spine x-ray เพราะก่อนที่จะมีการทำแบบ modified ECT พบ
ปัญหาของ spine fracture บ่อยมาก
CT หรอื MRI ในกรณที ที่ผู้ป่วยอาจมีโรคลมชัก หรือ สงสัยมี space occupying lesion อยู่ในสมอง
การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำ ECT
ให้ญาติหรือผู้รับผิดชอบผู้ป่วยทราบและเซ็นใบยินยอมให้การรักษา
งดน้ำและอาหารก่อนทำ 6 ชั่วโมง เพื่อป้องกันสำลักอาหาร
ถ่ายปัสสาวะ อุจจาระให้เรียบร้อยก่อนทำ
ถ้ามีฟันปลอมให้ถอดฟันปลอมออก เพื่อป้องกันฟันปลอมหลุดร่วงลงไปในคอ หรือแตกหัก เสียหาย
ผู้ป่วยควรสวมเสื้อผ้าที่รู้สึกสบาย ถอดของมีค่าออก
ผมควรจะสะอาดและแห้ง
ด้านจิตใจ
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจในการรักษาด้วย ECT และยอมรับในการรักษา ECT
ใช้คำว่า "รักษาด้วยไฟฟ้า" ไม่ใช้คำว่า "ช็อคไฟฟ้า" เพราะอาจจะทำให้ผู้ป่ วยกลัวได้
บอก วัน เวลา ที่จะรักษาให้ผู้ป่วยทราบล่วงหน้า
ให้ความมั่นใจและกำลังใจผู้ป่วย
ข้อบ่งใช้
ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสูง (High suicidal risk) จากการซึมเศร้ารุนแรง (Major depression)
ประสาทหลอน (Hallucination) หลงผิด (Delusion)
ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตรุนแรง และมีพฤติกรรมก้าวร้าว หรือพฤติกรรมรุนแรง (Violence)
ผู้ป่วยที่ทนต่อผลข้างเคียงของยาไม่ได้
ผู้ป่วยที่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาไม่ดีและตอบสนองต่อการรักษาด้วย ECT ดี
โรคจิตเภทเรื้อรังที่ใช้ยารักษาไม่ได้ผล