Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การวิเคราะห์หนังสือสำหรับเด็ก - Coggle Diagram
บทที่ 5
การวิเคราะห์หนังสือสำหรับเด็ก
ความหมาย
การจำแนก แยกแยะองค์ประกอบของหนังสือสำหรับเด็ก ออกพิจารณาแต่ละส่วน แล้วใช้เกณฑ์กำหนดที่เชื่อถือได้เข้าเทียบเคียงกับองค์ประกอบเหล่านั้น ทั้งนี้เพื่อใคร่ครวญดูว่า หนังสือเล่มนั้นมีส่วนใดบ้าง อะไรบ้าง เป็นอย่างไร มีข้อดีข้อบกพร่องอย่างไร เพื่อจะนำผลของการวิเคราะห์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
จุดประสงค์
เพื่อศึกษาแนวทางในการปรับปรุง
วิเคราะห์ถึงอิทธิพลของหนังสือว่ามีต่อเด็กในทางใด
เพื่อวิเคราะห์ดูความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วิเคราะห์เพื่อหาจุดเด่นของหนังสือ
เพื่อวิเคราะห์ดูพัฒนาการของหนังสือ
เพื่อเป็นแนวทางในการคัดเลือกหนังสือที่เหมาะสม
เพื่อวิเคราะห์ถึงคุณภาพของเนื้อหา
เพื่อเป็นแนวทางให้เด็กเลือกหนังสือที่ดีอ่าน
ขั้นตอน
ในการดำเนินการวิเคราะห์
ศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวหนังสือ
ศึกษาหนังสือเล่มที่จะวิเคราะห์ให้ละเอียดทุกแง่มุม
ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องการวิเคราะห์หนังสือ
ตั้งเกณฑ์ในการวิเคราะห์
ตั้งวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์
เลือกวิธีการวิเคราะห์
วิเคราะห์โดยสอบถามความเห็นจากเด็ก
วิเคราะห์โดยการตั้งกรรมการ
วิเคราะห์ด้วยตนเองตามเกณฑ์ที่ตั้งขึ้น
วิเคราะห์โดยส่งแบบสอบถามไปยังผู้เกี่ยวข้อง
สร้างเครื่องมือในการวิเคราะห์
การสุ่มตัวอย่างประชากร
การสุ่มประชากรตัวอย่าง
จำนวนหนังสือ
จำนวนเด็ก
วิธีการในการสุ่มตัวอย่าง
การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย
การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นพวกหรือชั้น
การสุ่มตัวอย่างมีระบบ
การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
การนำเสนอข้อมูล
รูปแบบบทความ
รูปแบบตาราง
กึ่งตารางกึ่งบรรยาย
รูปแผนภูมิ
ข้อเสนอแนะการวิเคราะห์
เกณฑ์ในการวิเคราะห์
การตั้งเกณฑ์ในการวิเคราะห์
การจัดเรื่อง (5 คะแนน)
ความน่าอ่าน (5 คะแนน)
ภาษา (5 คะแนน)
เครื่องช่วยประกอบ (5 คะแนน)
เนื้อหาสาระ (5 คะแนน)
ความทนทาน (5 คะแนน)
ปีที่แต่งและพิมพ์ (5 คะแนน)
ค่านิยมของวิชา (5 คะแนน)
ผู้แต่ง (5 คะแนน)
คุณค่าในด้านอื่นๆ (5 คะแนน)
การวิเคราะห์หนังสือ
พิจารณาตลอดทั้งเล่ม
รูปเล่มของหนังสือ
ความสะดวกในการดำเนินเรื่อง
วิธีการดำเนินเรื่ิอง
การใช้ภาษา
ความเหมาะสมทั่วไป
ข้อเสนอแนะสำหรับการปรับปรุง
กระดาษที่ใช้พิมพ์อยู่ในเกณฑ์ต่ำ ทั้งด้านสี
คุณภาพ ความเกลี้ยงเกลา
การวางรูปของการพิมพ์ยังขาดศิลปะและ
การนำหลักจิตวิทยามาใช้
ขนาดของหนังสือ ตัวหนาเต็มหน้า มีที่ว่างน้อยไป
ภาพประกอบควรได้แก้ไข ทั้งด้านสี ขนาด การจัดวางรูป จำนวน ความสอดคล้องกับเนื้อหา และที่สำคัญ ความมีชีวิตชีวาของภาพ
หนังสือไม่ค่อยสนองอารมณ์ปรารถนา
การส่งเสริมความรู้ค่อนข้างไกลตัวเด็กไทยเรา
หนังสือให้ความสนุกสนานเพลิดเพลินอารมณ์น้อยไป
ควรมีแบบฝึกหัดหรือกิจกรรมเสนอแนะให้เกิดการฝึกทักษะ ทั้ง3ด้าน
ควรเสนอเรื่องที่น่าสนใจมากขึ้น
การสรุปผลการวิเคราะห์
เมื่อได้ดำเนินการวิเคราะห์ด้านต่างๆแล้ว ในตอนสุดท้ายของการวิเคราะห์จะมีการสรุปผลทั้งหมดของการวิเคราะห์ รวมทั้งการวิจารณ์ แสดงความคิดเห็น และเสนอแนะตามข้อมูลที่ได้จาการวิเคราะห์นั้น