Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 พยาธิสรีรวิทยาของโรคระบบประสาท - Coggle Diagram
บทที่ 4 พยาธิสรีรวิทยาของโรคระบบประสาท
ระบบประสาท
ระบบประสาทส่วนกลาง cns
รวบรวมและแปลผลข้อมูล
ระบบประสาทส่วนปลาย
นำสัญญาณประสาทเข้า ออก cns และควบคุมการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมภายในร่างกาย
โครงสร้างของเซลล์ประสาท
Nissl substrance
Neurofibrils
Golgi apparatus
Mitocondria
lysosome
supporting element
cns
neuroglia :
astrocyte
เป็น blood brain barrier คอยป้องกัน
การบาดเจ็บต่อ aatrocyte
มีขานใหญ่ขึ้น
เพิ่มจำนวนมากขึ้น
นิวเคลียสมีขนาดใหญ่ขึ้น
oligodendrocyte
สร้างเยื้อหุ้มไมอีลิน
microglia
จับกินสิ่งแปลกปลอม
ependyma
สร้างและดูดซึมน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
หน้าที่
เป็นโครงสร้างให้กับระบบประสาทส่วนกลาง
นำอาหารและออกซิเจนมาเลี้ยงเซลล์ประสาท
กั้นไมให้สารเคมี เชื้อโรคเข้าไปได้ blood-brain barrier
pns
neurilemma
satellite cell
capsule cell
พยาธิสรีรวิทยาของการเคลื่อนไหว
การเคลื่อนไหว คือ การหดตัวของกล้ามเนื้อ
เป็นการประสานงานของ
motor cortex
cerebellum
basal ganglia
ป้องกันกล้ามเนื้อกลุ่มตรงข้ามหดตัว
เซลล์/วิถีประสาทสั่งการ
1 upper motor neuron (UMN)
เป็นเซลล์รูปร่าง betz cell อยู่ใน motor cortex
เริ่มต้นจากอmotor cortex ไปสิ้นสุดที่ anterior horn cell ในไขสันหลัง
1 ระบบ Pyramidal (corticospinal tract)
ควบคุมการเคลื่อนไหวในอำนาจจิตใจ
ควบคุมการเคลื่อนไหวอย่างละเอียดของนิ้ว หากผิดปกติส่งผลต่อการทำงานของนิ้ว
2 Extrapyramidal (rubrospinal tract)
กลุ่มเซลล์ประสาทที่มีก้านสมองทั้ง 2 ซีก,เปลือกสมองใหญ, basal ganglia, red nuclei
2 Lower motor neuron (LMN)
เริ่มต้นจาก anterior horn cell ไปสิ้นสุดที่เส้นประสาทเลี้ยงกล้ามเนื้อ
พยาธิสภาพการเคลื่อนไหวของร่างกาย
ความผิดปกติที่ Lower motor neuron (LMN)
1 anterior horn cell
โรคของ anterior horn cell
balbar palsy
ผิดปกติที่ motor nuclei ของเส้นประสาท CN VII
paralytic poliomyelitis
viral infection ที่ anterior horn cell
arnyotrophic lateral sclerosis
เกิดการทำลายของ myelin sheath
3 nerve root, nerve plexus, peripheral nerve
โรคของ peripheral nerve disorder
รากประสาทเสื่อม
เส้นประสาทอักเสบ
เส้นประสาทเสื่อมสภาพ
2 neuromuscular junction
ผิดปกติที่ presynaptic
อาการแสดง
อ่อนแรงกล้ามเนื้อคอ แขน ขา
ไม่ขับน้ำลาย ปากแห้ง คอแห้ง
อัมพาตรูม่านตา
ผิดปกติที่ postsynaptic
โรค myasthenia gravis
autoantibody แย่งจับ Ach
อาการแสดง
อ่อนแรง หายใจลำบาก เห็นภาพซ้อน
ความผิดปกติที่ upper motor neuron (UMN)
รอยโรคที่ motor cortex นำ descending tract นำลงจากสมองลงสู่ไขสันหลัง ทำลายระบบ pyramidal วิถีประสาทที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
upper motor neuron lesion
สาเหตุ
1 cerebrovascular disease CVD พบบ่อยที่สุด เกิดจากหลอดเลือด MAC ตีบ ตัน แตก ทำให้ขาดเลือดไปเลี้ยง
2 การเสื่อมของปลอกหุ้ม myelin เช่น โรค multiple sclerosis มักเกิดในเส้นประสาท optic nerve, ก้านสมอง
spinal cord injury จากการถูกกด ขาดเลือด การติดเชื้อ
สาเหตุความผิดปกติของ Extrapyramidal
โรคของระบบ extrapyramidal
โรค parkinson disease
พบในช่วงอายุ 58-62 ปี มีการกระทบกระเทือน สมองอักเสบจากไวรัส เนื้องอก พิษจากก๊าซ co, แมงกานีส ยาฆ่าแมลง
สาเหตุ
การตายของสมองส่วน substantia nigra และ striatum เสื่อมลง สร้าง dopamine ลดลง เสียสมดุล
อาการ
2 more items...
โรค Huntington s disease
ผิดปกติที่ short arm chromosome คู่ที่ 4 เกิดการลีบของ striatum ส่งผลให้ GABA และ Ach ลดลง Dopamine สูงขึ้น
อาการคล้าย chorea คล้าย parkinson
wilson s disease
ผิดปกติที่ long arm chromosome ที่ 13 ทำให้ผิดปกติที่ lysozymal enzyme ในตับมีผลให้ caeruloplasma ลดลง
ความผิดปกติของความรู้สึก
องค์ประกอบของความรู้สึกตัว cognition
ความสามารถของสมอง รับรู้+แปลผล+แสดงออก cerebral cortex
ความผิดปกติที่ส่งผลต่อการรับรู้
การทำลายสมองใหญ่ทั้งสองซีก ทำให้สมองยื่นย้อย และกดเบียด RAS
Head injury
Brain tumor
Brain abscess
ระดับการรู้สึกตัว
cerebral injury
laceration
การฉีกขาดของเนื้อสมอง
contusion
การฟกช้ำของเนื้อสมองบริเวณชั้นนอก
cerebral edema สมองบวม
การที่มีสารน้ำสะสมในเนื้อสมอง ต้องแยกจาก hydrocephalus ซึ่งเกิดจากเพิ่มขึ้นของ cfs ในบางส่วนหรือทุกส่วน
vasogenic edema
เกิดเมื่อ blood-brain barrier เสียไป เมื่อมี vascular permeability เพิ่มขึ้น สารน้ำก็จะเปลี่ยนที่จาก vascular compartment ไปอยู่ใน intercellular spaces
cytotoxic edema
เกิดจากการบาดเจ็บของ neuron, glial cell
CFS circulation
CFS ถูกสร้างขึ้น choroid plexus ในโพรงสมอง CFS จะไหลไปตาม ventricular system และผ่าน foramen of Luschka และ Magendle ไปยัง Subarachnoid space เพื่อหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลังและถูกดูดซึมกลับโดย arachnoid granulation การสร้างและการดูดซึม CSF ทำให้ CSF อยู่ในระดับสมดุล
Increased intracranial pressure: IICP
การเพิ่มขึ้นของความดันในกะโหลกศีรษะมากกว่า 15 mmHg ภายใน 24-72 ชั่วโมงแรกและมีโอกาสเกิดได้สูงสุดใน 6 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัดมีการเพิ่มปริมาตรภายในกะโหลกศีรษะ
การเพิ่มปริมาตรของเนื้อสมอง (Increased brain tissue volume: mass effect) เช่นเนื้องอกก้อนหนองหรือภาวะเลือดออก
การเพิ่มปริมาตรของเลือต (Increased blood volume) จากสาเหตุหลอดเลือดสมองขยายตัว (vasodilation) เนื่องจากเลือดในหลอดเลือดดำคั่งจากการขัดขวางการไหลเวียนกลับของเลือดดำจากสมองสู่หัวใจ
ความผิดปกติของปริมาตรน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง (Increased cerebrospinal fluid volume) จากสาเหตุใหญ่ 2 ชนิดคือมีการอุดตันการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง (obstructive hydrocephalus) และความผิดปกติในการดูดซึมของน้ำหล่อสมองและไขสันหลังกลับเข้าสู่กระแสเลือด
อาการของความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ปวดศีรษะ (Headache)
อาเจียนพุ่ง (Projectile vomiting)
รูประสาทตาบวม (Papilledema) ตาพร่ามัว
ภาวะสมองเลื่อน (brain herniation)
Tonsilar herniation คือการเลื่อนของ cerebellar tonsil ลงมาอยู่ใน foramen magnum ซึ่งเป็นภาวะคุกคามต่อชีวิตผู้ป่วยเนื่องจากจะทำให้ brainstem และ medulla ซึ่งมีศูนย์ควบคุมหัวใจและการหายใจถูกกดเบียด