Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตวิทยา Psychology - Coggle Diagram
จิตวิทยา Psychology
จิตวิทยาการเรียนรู้
กลุ่มเกสตัลท์
การเรียรุ้เกิดขึ้น
การรับรู้
การหยั่งเห็น
กฏการจัดระเบียบการเรียนรู้
กฏแห่งความแน่นอน ( จุดเด่น ,พื้นหลัง)
กฏแก่งความคล้ายคลึง
กฏแห่งความคล้ายคลึง
กฏแห่งความสมบูรณ์
กฏแห่งความต่อเนื่อง
กฏแห่งความคงที่
กลุ่มสังคมเชิงพุทธิปัญญา
Albert Bandura
การเรียนรู้โดยการสังเกตหรือเรียนแบบ
แนวคิด
พฤติกรรมที่แรียนรู้และแสดงออกเสมอ
พฤติกรรมที่เรียนรู้แต่ไม่เคยแสดงออก
พฤติกรรมที่ไม่เคยแสดงออกเพราะยังไม่เคยเรียนรู้
หลักการ
กระบวนการทางปัญญา + ทักษะการตัดสินใจ
เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล + สิ่งแวดล้อม + พฤติกรรม
ผลของการเรียรู้จะแสดงออกแตกต่างกัน
กลุ่มปัญญานิยม
Jean Piget
กระบวนการทางสติปัญญษ
การซึมซับหรือดูดซึม : รับรู้สิ่งใหม่ เข้ามา
การปรับและการจัดระบบ : ตีความ แปลความ ให้เกิดสมดุล
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเรียนรู้
ให้ความช่วยเหลือเมื่อเด็กต้องการ
ให้เด็กได้เรียนรู้สิ่งคุ้นเคยก่อนนำเสนอสิ่งใหม่
จัดสภาพแวดล้อมและกิจกรรมให้เหมาะกับช่วงวัย
ให้เด็กเรียนรู้ภาพรวมก่อนสอนทีละส่วน
โครงสร้างทางสติปัญญา : วิธีที่มนุษย์รับรู้เข้าใจ
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
Iven Pavlov
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (หมา + อาหาร + กระดิ่ง)
กฎการเรียนรู้
กฏการดับสูญ
กฏการคืนกลับ
กฏความคล้ายคลึง
กฏการจำแนก
Skinner
ทฤษฎีการเรียนรุ้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (หนู + กล่องทดลอง + อาหาร
เงื่อนไข
การเสริมแรงทางบวก - ทางลบ (เพิ่มสิ่งเร้าในสถานการณ์)
การลงโทษทางบวก - ทางลบ (ถอดสิ่งเร้าออกจากสถานการณ์)
องค์ประกอบการเรียนรู้
Behavior : พฤติกรรมที่แสดงออก
Consequences : ผลที่เกิดขึ้นหลังแสดงพฤติกรรม
Antecedents : สิ่งที่ก่อให้เกิดพฤติกรรม
พฤติกรรมมนุษย์
Respondent : ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ
Operant : พฤติกรรมที่เลือกจะแสดงออก
John B. Watson
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสติก (หนูขาว+เสียงดัง+เด็ก)
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขกลับ (กระต่าย + ขนม + เด็ก)
ทฤษฎีการจัดประเภทการเรียนรู้ Bloom
Analyze : วิเคราะห์
Apply : นำไปใช้
Evaluate : ประเมินผล
Understand : เข้าใจ
Create : สร้างสรรค์
Remember : จำ
จิตวิทยาพัฒนาการ
Jean Piaget สติปัญญา
ลักษณะธรรมชาติ
การจัดและรวบรวม (เห็นและคว้า)
การปรับตัว
การดูดซึมหรือขยายโครงสร้าง : ได้รับประสบการ์หรือส่ิ่งใหม่ ๆ เช้าสมอง
การปรับเข้าสู่โครงสร้าง : ปรับความคิดเดิมให้สอดคล้องกับประสบการณ์ใหม่ ๆ
โครงสร้างทางสติปัญญา : จะพัฒนาขึ้นตามระดับอายุเป็นตามลำดับขั้น
พัฒนาการ 4 ระยะ
Sensory motor 0 -2 ปี
พัฒนาการตอบสนองอัตโนมัติ reflex
พัฒนาการความต้องการพื้นฐาน กิน นอน
พัฒนาการเคลื่อนไหวของร่างกายไปสู่รอบตัว
พัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับความคงอยู่
Preoperational 2-7 ปี : เข้าใจสิ่งต่าง ๆ ในลักษณะรูปธรรม ต้องอธิบายเหตุผล
Concrete operational 7-12 ปี : สามารถรับรู้และเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ตามความเป็นจริง
Formal operational 12-ตาย : สามารถเข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรมที่ไม่สามารถมองเห็นหรือสัมผัสได้
Lowrence Kohlberg ด้านจริยธรรม
1.ระดับก่อนกฏเกณฑ์ (2-7 ปี) : ยังไม่เข้าใจสาเหตุความเป็นมา ทำตามคำสั่งเพราะกลัวถูกลงโทษ
ระดับก่อนกฏเกณฑ์(7-10 ปี) : เชื่อฟังเพราะหวังรางวัลและคำชมเชยยังำม่เรียนรู้ที่จะแบ่งปัน
ระดับกฏเกณฑ์ (10-13 ปี) : แสดงพฤติกรรมดีเพราะให้ผู้อื่นยอมรับ
ระดับเหนือกฏเกณฑ์ (ผู้ใหญ่แต่ไม่ใช่ทุกคน) : ยึดมั่นในมโนธรรม เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ระดับกฏเกณฑ์ (13-16 ปี) : ทำสิ่งที่ถูกต้องสร้างความประทับใจต่อผู้อื่น
ระดับเหนือกฏเกณฑ์ (17 ปีขึ้นไป) : ยึดประโยชน์ของสังคมมากกว่าของตนเอง นึกถึงจิตใจผู้อื่น
Erik Erikson กลุ่มจิตสังคม
แนวคิด
สังคมและประสบการณ์ส่งผลต่อบุคลิกภาพ
พัฒนาการที่ส่งผลต่อบุคลิกภาพเกิดขึ้นตลอดเวลา
เป็นรากฐานของบุคลิกภาพในอนาคต
พัฒนาการ 8 ขั้น
5- 13 ปี : ได้ผ่านการลงมือทำจริงจะมีความสามารถ (competence)
13- 21 ปี : ได้รับการพัฒนาที่ดีจะมีปรัชญาชีวิต อุดมคติ (Fidelity)
3-5 ปี : ได้รับการพัฒนาที่ดีจะเป็นคนมีเป้าหมายมุ่งมั่น (purpose)
21- 40 ปี : ได้รับการพัฒนาที่ดีจะยึดถือวัฒนธรรมของสังคม (fidelity)
1- 3 ปี : ได้รับการพัฒนาที่ดีจะตั้งใจทำในสิ่งต่าง ๆ (Will)
40- 60 ปี : รู้จักแบ่งปัน ส่งเสริมผู้อื่นอย่างจริงใจนับถือตนเอง (Will)
0 - 1 ปี : เป็นรากฐานของพัฒนาการด้านสังคมของบุคคล (Hope)
ุ60 ปีขึ้นไป : ไว้วางใจผู้อื่นมีความมั่นคงทางจิตใจ
Sigmund Freud กลุ่มจิตวิเคราะห์
พัฒนาการทางเพศ
Anal stage : ระยะทวาร
Phallic stage : ระยะอวัยวะเพศ
Oral stage : ระยะปากหาความสุข
Latency stage : ระยะแฝง (ก่อนวัยรุ่น)
Genital stage : ระยะความสุขต่างเพศ (วัยรุ่น)
แนวคิด
จิตใต้สำนึกมีผลต่อพฤติกรรม
ประสบการณ์วัยเด็กส่งผลต่อนิสัยในวัยผู้ใหญ่
จิตใจถูกกำหนดโดยจิตใต้สำนึก
ภาวะของจิต
จิตไร้สำนึก : ไม่รู้สึกตัว ถูกควบคุมโดยสัญชาตญาณ
ภาวะของจิตถูกขับเคลื่อนด้วยพลังจิต
id : ความอยาก ความปรารถนา
ego : การบริหารจัดการ ควบคุมเลือกที่จะแสดงออก
superego : ตรวจสอบพฤติกรรม อารมณ์ ความคิด มโนธรรม
จิตรู้สำนึก : รู้สึกตัว แสดงออกอย่างมีสติ
จิตวิทยารายบุคคล
ทฤษฎีตัวตน Self Theory
ตัวตนในอุดมคติ
ตัวตนตามที่เป็นจริง
ตัวตนตามที่รับรู้
Alfred Adler โครงสร้างบุคลิกภาพ
ประสบการณ์ในวัยเด็ก
์Neglected Child : พ่อแม่ไม่ค่อยดุแล ทำให้โลกที่อยู่น่ากลัว
Warm Child : พ่อแม่สนับสนุนผ่านการใช้เหตุผล
Child with Inferiority : มีปมด้อย
Spoiled Child : พ่อแม่ทำให้ทุกอย่างไม่มีโอกาสทำเอง
ปมเด่น - ปมด้อย
ลำดับการเกิด (ลูกคนโต กลาง เล็ก ลูกคนเดียว)
นางไพลิน เรืองเถาะ หมู่ 6 รหัส 62B44640618