Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทความวิชา เรื่อง งานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน, CAR :…
บทความวิชา เรื่อง
งานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน
ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ :pencil2:
ใคร :silhouettes:
ครูผู้สอนในห้องเรียน
ทำอะไร :explode:
แสวงหาวิธีการแก้ปัญหา
ที่ไหน :checkered_flag:
ในห้องเรียน
เมื่อไร :smiley:
ขณะมีการเรียนการสอน
อย่างไร : :question:
ใช้วิธีการงานวิจัยที่มีวงจรการทำงานต่อเนื่องและสะท้อนกลับการทำงานวิจัยของตนเอง (self-refection) มีขั้นตอนหลักคือ การทำงานตามวงจร PAOR
เพื่อจุดมุ่งหมายใด :red_flag:
เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน
ลักษะณะเด่นของงานวิจัย :star:
เป็นกระบวนการวิจัยที่ทำอย่างรวดเร็ว
ครูผู้สอนนำวิธีการแก้ปัญหาไปทดลองใช้กับผู้เรียนทันทีและสังเกตผลการแก้ปัญหานั้น
มีการสะท้อนผลและแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับเพื่อนครู
ความหมายของการวิจัยในชั้นเรียน :fountain_pen:
การวิจัยในชั้นเรียน เป็นการวิจัยที่มีลักษณะในการปฏิบัติการ โดยครูจะเป็นผู้ดำเนินการวิจัยด้วยตนเอง โดยมีรูปแบบในการดำเนินการจัดกาเรียนไปพร้อมกับการจัดเก็บข้อมูลที่วางแผนการทำวิจัยและนำข้อมูลมาวิเคราห์ สรุปผล และนำผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนให้มีคุณภาพมากขึ้น
จุดมุ่งหมายของการวิจัยในชั้นเรียน :red_flag:
เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
นำผลการปฏิบัติกรามาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนของตนเอง
ประโยชน์ของการวิจัยในชั้นเรียน :<3:
นักวิจัยได้รับความรู้เพิ่มเติม และทำงานเป็นระบบมากยิ่งขึ้น
ผลของการวิจัยเป็นประโยชน์ขององค์กรและสังคมในการทำผลไปปรับปรุง และพัฒนาให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น
ความสัมพันธ์ของการวิจัยในชั้นเรียนกับการศึกษา :recycle:
ใช้พัฒนาทั้งด้านความรู้ความสามารถ ด้านทักษะ และด้านจิตพิสัยของผู้เรียน
ครูกับการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อการเรียนการสอน :silhouette:
การวางแผนการดำเนินงานวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การค้นคว้าเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล
การระบุปัญหาการวิจัย
การนำข้อมูลค้นพบที่ได้ไปปฏิบัติ
การแลกเปลี่ยนข้อค้นพบกับผู้อื่น
จรรยาบรรณนักวิจัยในชั้นเรียน :warning:
ความรับผิดชอบ เช่น ไม่เผยแพร่และมีจิตสำนึกในการเก็บข้อมูล
ความรู้ความสามารถในศาสตร์สาขาที่ทำวิจัย เช่น มีความรู้ความชำนาญประสบการณ์
การนำเสนอข้อค้นพบของงานวิจัยเพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ
ความซื้อสัตย์ในการทำงานวิจัย เช่น อ้างอิงแหล่งที่มา ไม่คัดลอกผลงาน ใช้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง
การทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ :star:
ต้องรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลเพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ต้องประเมินเพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้และพฤติกรรมการสอน
ครูสังเกตเห็นว่านักเรียนบางคนมีปัญหาที่ครูต้องช่วยคลี่คลายและแก้ไข
ครูต้องการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จึงสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ความแตกต่างของการทำวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนกับการวิจัยเชิงวิชาการ :silhouettes:
เป้าหมาย :checkered_flag:
CAR :star:
สร้างความรู้เฉพาะเพื่อใช้ในห้องเรียนของผู้วิจัย
AR :<3:
สร้างความรู้ทั่วไปที่สามารถสรุปอ้างอิงได้
ผู้วิจัย :silhouette:
CAR :star:
โดยครูผู้สอนในชั้นเรียน เป็นการวิจัยแบบร่วมมือ ใช้วงจรแบบ PAOR
AR :<3:
โดยนักวิชาการหรือนักการศึกษาในมหาวิยาลัยที่ไม่ได้ปฏิบัตงานในชั้นเรียน
วงจรของการวิจัย :recycle:
CAR :star:
Plan > Act > Observe > Reflect
AR :<3:
กำหนดปัญหา > ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง > ออกแบบการวัจัย > สรุป > อภิปรายผลการวิจัย
วิธีการวิจัย :fountain_pen:
CAR :star:
ไม่เน้นกำหนดกรอบแนวคิด/ทฤษฎี เน้นประสอบการผู้สอน ใช้วิจัยเชิงคุณภาพมากกว่าปริมาณ
AR :<3:
ยึดแบบการวิจัย ออกแบบการวิจัยรัดกุม มีการกำหนดกรอบแนวคิด/ทฤษฎี ใช้วิจัยเชิงปริมาณมากกว่า
การกำหนดวิธีการแก้ไขปัญหาในห้องเรียน :!!:
CAR :star:
ใช้วิธีการเชิงอัตวิยโดยใช้ประสบการณ์ของผู้วิจัย
AR :<3:
อิงทฤษฎีหรือผลวิจัยรองรับ
กลุ่มเป้าหมายที่ต้องทำการวิจัย :silhouettes:
CAR :star:
นักเรียนในห้องเรียน เป็นรายบุคคลหรือกลุ่มห้องเรียน
AR :<3:
นักเรียนที่เป็นตัวแทนของกลุ่มประชากร
ข้อมูลวิจัย :pencil2:
CAR :star:
ครูเป็นผู้เก็บข้อมูลโดยการปฏิบัติจริงสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนทำให้เป็นงานที่มีคุณภาพ
AR :<3:
ครูจะเก็บข้อมูลจากผู้เรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนจึงไม่มีความใกล้ชิดแหล่งข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล :smiley:
CAR :star:
วิเคราะห์เนื้อหา ไม่เน้นการวิเคราะห์ด้วยสถิติขั้นสูง
AR :<3:
ส่วนใหญ่ใช้การวิเคราะห์ทางสถิติ เน้นการสรุปอ้างอิง
การอภิปราย แปลความหมาย ข้อค้นพบจากการวิจัย :fire:
CAR :star:
มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การวิจัยร่วมกัน มีการถกอภิปรายถึงวิธีการแก้ไขปัญหาที่ใช้และผลที่เกิดขึ้น
AR :<3:
นักวิจัยอภิปรายภายใต้กรอบของการวิจัย และใช้ความคิดเห็นของนักวิจัยประกอบการอภิปราย
ช่วงเวลาที่ทำการวิจัย :confetti_ball:
CAR :star:
ส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน
AR :<3:
นักวิจัยเฝ้าเก็บข้อมูลและสังเกตการณ์
การใช้ผลการวิจัย : :unlock:
CAR :star:
สามารถนำผลไปใช้ในห้องเรียนได้ทันที
ไม่เน้นการตีพิมพ์หรือเผยแพร่
AR :<3:
อาจไม่ได้นำไปใช้ในการปฏิบัติจริง
มีการตีพิมพ์เป็นบทความวิจัย หรือบทความทางวิชาการ
CAR : วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
AR : การวิจัยเชิงวิชาการ
น.ส.นภัทร ช่วยพยุง 60105010008
น.ส.ปริชญา จุลเสน 60105010011 นายธนวัฒน์ เต็งโหย่ง 60105010047
อ้างอิง :check:
วิจิตรา ศิริวงศ์. (2562, กรกฎาคม-ธันวาคม). การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน. วารสารสิรินธรปริทรรศ์. 20(2): 201-212. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2564, จาก
https://www.google.com/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=&cad=rja&uact=8&ved=2ahUKEwi11fbCsozuAhWezjgGHYGEAXUQFjABegQIBRAC&url=https%3A%2F%2Fso06.tci-thaijo.org%2Findex.php%2Fjsrc%2Farticle%2Fdownload%2F241397%2F164162%2F&usg=AOvVaw3gDqbfs_vbw_9ywL3hLYr1