Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน, นางสาวกนกพร ชารีรักษ์ เลขที่3 ห้อง2/1 เอกคู่…
หลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน
หลักการ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้
1.เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตราการการเรียนรู้เป็นเป้าหมายเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทยควาบคู่กับความเป็นสากล :
2.เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ
3.เป็นหลักสูตรการศึกษาที่กระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
4.เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้
5.เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
6.เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย สามารถโอนเทียบผลการเรียนรู้เเละประสบการณ์
จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐานการศึกษา มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีปํญญา มีความสุข มีศักยภาพในกานศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบกานศึกษา ดังนี้
1.มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักของพระพุธทศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัญาของหลักเศรษฐกิจพอเพี่ยง
2.มีความรู้ ความสารถในการสือสารความคิด การแก้แก้ปัญหา กานใ้ช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต
3.มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัยและการออกกำลังกาย
4.มีความรักชาติมีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองและพลโลก ยึดมั่นในวิถีและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5.มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคมและอยู่ในสังคมร่วมกันอย่างมีความสุข
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร หมายถึง ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพือ่เปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม
2.ความสารมารถในการคิด หมายถึง การคิดวิเคราะห์ คิดสังสรรค์ คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจราณญาณ และคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างสรรค์องค์ความรู็สารสนเทศ
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา หมายถึง เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุก่รณ์ต่างๆ ในสังคมแสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
4.ความสารถในการใช้ทักษะชีวิต หมายถึง ใช้กระบวนการณ์ต่างๆในการดำเนินชีวิตประจำวัน เรียนรู้ด้วยตนเองต่อเนื่อง ทำงานและอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระว่างบุคคล
5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี หมายถึง รู้จักเลือกใช้เทคโนโลยีต่างๆ ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐานได้กำหนดคุณลักษณะไว้ 8 ประการ ดังนี้
1.รักชาติ ศาส กษัตริย์
2.ซื่อสัตย์สุจริต
3.มีวินัย
4..ใฝ่เรียนรู้
5.อยู่อย่างพอเพียง
6.มุ่งมั่นในการทำงาน
7.รักความเป็นไทย
1 more item...
มาตราฐารการเรียน
การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสุูตรแกนกลางขั้นพื้นฐานจึงกำหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ดังนี้
1.ภาษาไทย
2.คณิตศาสตร์
3.วิทยาศาสตร์
4.สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
5.สุขศึกษาและพลศึกษา
6.ศิลปะ
7.การงานอาชีพเเละเทคโนโลยี
8.ภาษาต่างประเทศ
สาระการเรียนรู้(สาขาพลศึกษาและสุขศึกษา)
สาระที่1 การเจริญเติบโตเเละกานพัฒนาการของมนุษย์
สาระที่2 ชีวิตและครอบครัว
สาระที่3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย กีฬาไทยและกีฬาสากล
สาระที่4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถนะการป้องกันโควิด
สาระที่5 ความปลอดภัยในชีวิต
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1.กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาให้ผู้เรียนรู้จักตนเอง รู้รักสิ่งเเวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมายวางแผนทั้งด้านการเรียนและอาชีพ สามรถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู็เรียนทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู็เรียน
2.กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่พัฒนามุ่งความเป็นระเบียบ ความเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบการทำงานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหาการตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผมการช่วยเหลือแบ่งปัน โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถความถนัดและความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผนประเมิน และปรับปรุงการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียนและผู้บริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น
กิจกรรมนักเรียนประกอบด้วย
1.กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาติ ผู้บำเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษาวิชาทหาร
2.กิจกรรมชุมนุมชมรม
3.กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่น ตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม และการมีจิตสาธารณะ เช่นกิจกรรมอาสาพัฒนาต่างๆ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่างๆ กิจกรรมสร้างสรรค์ สังคม
นางสาวกนกพร ชารีรักษ์
เลขที่3 ห้อง2/1 เอกคู่ คณะศึกษาศาสตร์