Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อวัยวะรับความรู้สึก - Coggle Diagram
อวัยวะรับความรู้สึก
ตา
จะมีอาการบวมและหนาของกระจกตาได้โดยเฉพาะในไตร
มาสที่ 3 ผู้ที่ใส่คอนแทคเลนอาจจะทำให้รู้สึกไม่สุขสบายได้
-
-
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การเปลี่ยนแปลงท่าทาง
เอ็นที่ยึดและข้อต่อมีการยืดตัว และจากการที่มดลูกโตขึ้นทำให้จุดศูนย์ถ่วงของตัวหญิงตั้งครรภ์เคลื่อนมาทางด้านหน้าจึงทำให้หลังแอ่น
ในไตรมาสที่ 3 ท้องโตมากขึ้นทำให้เกิดการ
แอ่นบริเวณเอวมากเรียกว่าเกิดภาวะ ลอร์โดชีส (lordosis) ซึ่งทำให้หญิงตั้งครรภ์ปวดหลังได้
ไตรมาสที่ 2 เมื่อมีการเพิ่มขึ้นของฮอร์โมน รีแล็กซิน เอสโตรเจน และโป
รเจสเตอโรน ทำให้เอ็นที่ยึดและข้อต่อมีการยืดตัว
การสะสมแคลเซียม
ทารกมีความต้องการแคลเซียมสูงในไตรมาสที่ 3 การดูดซึมแคลเซียมของลำไส้เพิ่มขึ้นตั้งแต่ไตรมาสแรก แคลเซียมจะสะสมในมารดามากกว่าการส่งไปยังทารก
ผนังหน้าท้อง
กล้ามเนื้อหน้าท้องจะตึงมากและอาจทำให้กล้ามเนื้อเรกตัสแอบโดมินิส (rectus abdominis) แยก เรียกว่าเกิด ไดแอสทาซีสเรคไต (diastasis recti)
จะแยกมาก แยกน้อยแล้วแต่ในบางราย ถ้ามีการแยกของกล้ามเนื้อมากจะทำให้มดลูกถูกคลุมเฉพาะผนังหน้าท้องและมีผิวหนังซึ่งบางมาก
หู
มีการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุที่หูและท่อยูสเตเชียนจากผลของฮอร์โมนเอสโตรเจน ซึ่งทำให้การได้ยินไม่ชัดเจนได้ แต่จะเกิดเพียงชั่วคราว
-