Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) - Coggle Diagram
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)
สาเหตุ
ร่างกายมีน้ำตาลกลูโคสน้อยลง
ร่างกายมีการใช้กลูโคสเพิ่มมากขึ้น
2.1 น้ำตาลในเลือดต่ำชนิดเป:นชั่วคราว
เจริญเติบโตในครรภ์ช้า
แฝดที่มีน้ำน้อย
เกิดก่อนกำหนด
มีภาวะเลือดข้น
มีขี้เทาในน้ำคร่ำ
ขาดออกซิเจน
มารดามีประวัติ pre-eclampsia
อุณหภูมิร่างกายต่ำ
มีการติดเชื้อในกระแสเลือด
2.2 น้ำตาลในเลือดต่ำชนิดที่กลับเป็นซ้ำหรือเป็นตลอดไป (recurrent หรือ persistenthypoglycemia)
ภาวะอินซูลินเกิน
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
ความผิดปกติของเมตาบอลิซึม
พยาธิสภาพ
ทารกขณะอยู่ในครรภ์ ได้รับกลูโคสจากมารดา
ผ่านทางรก
อินซูลินไม่สามารถผ่านรกได้
ระดับกลูโคสในเลือดทารกจะเท่ากับระดับกลูโคสของมารดา
ระดับกลูโคสมารดาสูง
ทารกมีระดับกลูโคสเพิ่มสูงด้วย
ทำให้ทารกมีระดับอินซูนลินเพิ่มสูง
หลังคลอดทารกไม่ได้รับกลูโคสจากมารดา
1 more item...
อาการและอาการแสดง
ร้องเสียงแหลม
อาการสั่น (tremor)
ไม่รู้สติ
หายใจไม่สม่ำเสมอ หรือ หายใจเร็ว
มีสะดุ้งผวา (jitteriness)
ชักกระตุกเฉพาะที่
กรอกตาไปมา
เนื้อตัวอ่อนปวกเปียก
เหงื่อออก
อุณหภูมิร่างกายต่ำ
อาการซึม ไม่ดูดนม
ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ
การรักษา
ทารกที่มีภาวะเสี่ยงต่อระดับน้ำตาลในเลือดต่ำทุกราย
ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือดภายใน 1-2 ชั่วโมงหลังเกิด
ติดตามเป็นระยะทุก 1-2 ชั่วโมง ใน 6-8 ชั่วโมงแรก
มีอาการทั่วไปคงที่อาจตรวจทุก 4-6 ชั่วโมงในระยะต่อมา
ไม่สามารถรับอาหารทางปากได้ ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือดดำในรูปของเดกซiโทรส 5% ในน้ำ เริ่มให้อัตรา 4 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/นาที
ทารกที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ตรวจระดับน้ำตาลทุก 30 นาที
ไม่แสดงอาการ
ให้กินสารละลายกลูโคสหรือนม
ถ้ากินอาหารไม่ได้ให้สารละลายกลูโคสเข้าทางหลอดเลือดดำใน
อัตรา 4-8มิลลิกรัม/กิโลกรัม/นาที และตรวจระดับน้ำตาลเป:นระยะๆ ทุก ½ - 1 ชั่วโมง
แสดงอาการ
ให้สารละลายกลูโคสในรูปของเดกซ์โทรส 10% ในน้ำ
(D10%W) มิลลิลิตร/กิโลกรัม (200มิลลิกรัม/กิโลกรัม)
มีอาการดีขึ้นควรค่อยๆ ลดอัตราการให้กลูโคสลง ครั้งละ2 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/นาที
การใช้ยาไฮโดรคอรiติโซน (hydrocortisone) 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน โดยแบ7งให'วันละ 2 ครั้ง
การดูแลทั่วไป
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การตรวจร่างกาย
ทารกที่เกิดจากมารดาเป็นเบาหวานจะมีลักษณะ ตัวใหญ่ อ้วน แก้มยุ้ย ผิวแดงเข้ม ผมและขนดกดำ สายสะดือ
และรกใหญ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด
การซักประวัติ
การเป็นเบาหวาน
การได้รับยาระหว่างตั้งครรภ์
ประวัติการเจ็บป่วย
ประวัติการตั้งครรภ์
การคลอดของมารดา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ทารกมีภาวะเสี่ยงจากอันตรายจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
เกณฑ์การประเมินผล
ระดับน้ำตาลในเลือดปกติ
ไมมีอาการซึม สะดุ้ง ผวา สั่น ชัก ดูดนมได้ปกติ สัญญาณชีพปกติ ไม่เขียว
กิจกรรมการพยาบาล
ควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
ติดตามผลการตรวจหาระดับน้ำตาลเป็นระยะ
ดูแลให้ทารกได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเหมาะสมเพียงพอตามสภาวะของทารก
1.1 ทารกแข็งแรง ไม่มีอาการระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ ตื่นตัวตัว ดูดกลืนดี เริ่มให้นมแม่โดยเร็วภายใน 1 ชม.แรกหลังเกิด และต่อเนื่องตามความต้องการของทารกทุก 2-3 ชม
1.2 ทารกตัวโตมาก หรือมีน้ำหนักตัวมาก น้ำนมแม่ยังน้อย อาจไม่เพียงพอจำเป็นต้องให้นมเพิ่มโดยการป้อนหลังจากให้ทารกดูดนมแม่แล้ว
1.3 ทารกที่มีภาวะเสี่ยงต่อภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ โดยเฉพาะทารกเกิดก่อนกำหนด SGA LGA perinatal asphyxia ทารกป่วย หรือแม่เป็นเบาหวาน การพยาบาล 24 ชม แรกหลังเกิด
1) ทารกแสดงอาการหิว ดูดนมได้ดี ให้ดูดนมแม่โดยเร็วภายใน 1 ชั่วโมงแรกหลังเกิด และให้ดูดต่อไปทุก 2-3 ชั่วโมง
2) ทารกไม่แสดงอาการหิว และดูดนมแม่ได้น้อย ต้องใช้วิธีการบีบน้ำนมแม่ป้อนให้ทารกด้วยถ้วยหรือทางสายให้อาหารทางปาก และควรตรวจระดับน้ำตาลในเลือดภายหลังให้นม 1 ชั่วโมง และควรตรวจก่อนให้นมมื้อต่อไปด้วย ถ้ายังต่ำอยู่อาจจำเป็นต้องพิจารณาให้กลูโคส
ทางหลอดเลือดดำ และคงให้นมแม่อยู่ต่อไป
1.3 ทารกมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ แม้จะไม่แสดงอาการ ถ้าดูดได้ดี และสามารถให้นมแม่ได้ให้ดูดต่อไป แต่ถ้าไม่ได้ใ้'ห้ใช้นมบีบ หรือนมอื่นทดแทนโดยการป้อนด้วยถ้วย หรือให้ทางสายให้อาหารทางปากอย่างน้อยทุก 3 ชั่วโมง และตรวจน้ำตาลในเลือดเป็นระยะ ๆ
1.4 หากมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำและมีอาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ได้แก่ หยุดหายใจเขียว สั่นหรือชัก จะต้องตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดอย่างเร่งด่วน และให้กลูโคสทางหลอดเลือดดำ(เดกซiโทรส 10% ในน้ำ) โดยเร็วตามแผนการรักษา
ถ้าทารกมีระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้นปกติ และคงอยู่อย่างน้อย 12ชั่วโมง ทารกดูดกลืนได้ดี ไม่มีอาการผิดปกติทางระบบประสาท ควรพิจารณาเริ่มให้นมทางปากโดยเร็วเท่าที่จะทำไ้ด้
ดูแลให้ทารกได้รับยาตามแผนการรักษาอย่างถูกต้อง
สังเกต บันทึก และรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ และอาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาวะ
น้ำตาลในเลือดต่ำ เช่น กระวนกระวาย (irritability) สั่น (tremors)
ดูแลให้ทารกได้พักผ่อนอย่างเต็มที่ ลดการใช้พลังงานของร่างกาย
เป้าหมายการพยาบาล
ทารกมีระดับน้ำตาลในเลือดปกติ
ปลอดภัยจากอันตรายจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
การวินิจฉัย
serum glucose test
ผลระดับน้ำตาลในเลือดต่ำจากการใ้แถบตรวจน้ำตาล จะต้องส่งเลือดตรวจทางห้องปฏิบัติการทุกราย
การใช้แถบตรวจน้ำตาล
เจาะเลือดแล้วต้องตรวจทันที ถ้าตั้งทิ้งไว'ในอุณหภูมิห้องระดับน้ำตาลในเลือดจะลดลงอย่างรวดเร็ว ระดับน้ำตาลในพลาสมาจะสูงกว่า
ระดับน้ำตาลในเลือดครบส่วนประมาณร้อยละ 15
ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด โดยทั่วไปนิยมใช'แถบตรวจน้ำตาล (Dextrostix) และใช'ในการตรวจ
ติดตามเป:นระยะ ๆ
ทารกมีโอกาสเสี่ยงต7อการเกิดภาวะ
น้ำตาลในเลือดต่ำ ควรตรวจดูระดับน้ำตาลในเลือดระหว7างอายุ 30 นาที ถึง 2 ชั่วโมง
ปัจจัยเสี่ยง
ด้านมารดา
คลอดยาก
ผ่าตัดคลอด
ภาวะพิษแห่งครรภ์
ได้รับยา
tocolytic agents
sulfonylureas
มารดาเป็นเบาหวาน
ด้านทารก
การเจ็บป่วย
ภาวะหายใจลำบาก (respiratory distress)
hemolytic disease
มีการติดเชื้อ
SGA หรือ LGA
มีความผิดปกติแต่กำเนิด
omphalocele
congenital heart disease
น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม
ทารกเกิดก่อนกำหนด (อายุครรภ์ < 37 สัปดาห์)
ด้านอื่นๆ
3.2 adrenal insufficiency
3.3 ได้รับเลือดที่ใส่ acid citrate dextrose (ACD)
3.1 pancreatic disorders