Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7 ความผิดปกติของหัวใจ, โรคลิ้นหัวใจรั่ว valvular regurgitation,…
บทที่7 ความผิดปกติของหัวใจ
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ valvular heart disease VHD
ลิ้นหัวใจหน้าที่คล้ายประตูช่วยกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับในขณะที่หัวใจบีบตัว
ทำให้เกิดภาวะทำให้มีการเปลี่ยนแปลงต่อกล้ามเนื้อหัวใจเป็นแบบยืดขยายออก dilatatain
สาเหตุการเกิดโรค
พิการ แต่กำเนิดมีอาการเหนื่อยง่ายเจริญเติบโตช้าตัวเขียว
โรคลิ้นหัวใจรูห์มาติคเกิดจากการติดเชื้อจนหัวใจเกิดการอักเสบ
โรคลิ้นหัวใจเสื่อมในคนสูงอายุมักเกิดจากหินปูนเกาะที่ลิ้นหัวใจ
โรคลิ้นหัวใจอักเสบติดเชื้อพบในคนไข้ที่ทำฟัน
ทำให้เกิดภาวะ pressure load ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงต่อกล้ามเนื้อหัวใจเป็นแบบหนาตัว hypertrophy
ความผิดปกติของเยื่อบุด้านหัวใจ Infective Endocarditis IE
การดำเนินของโรค
acute bacterial endocarditis ABE มักมีการดำเนินโรคอย่างรวดเร็ว
subacute bacterial endocarditis SBE มีการดำเนินแบบค่อยเป็นค่อยไป
แบ่งตามชั้นของหัวใจ
การอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ myocarditis
การอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ pericarditis
การอักเสบของเยื่อบุด้านในของหัวใจ endocarditis
อาการและอาการแสดง
มีไข้หนาวสั่นเบื่ออาหารน้ำหนักลด
ฟังเสียงหัวใจส่วนใหญ่จะได้เสียงฟู
เลือดออกได้ง่าย
จุดเลือดออกมักพบบริเวณเยื่อบุตาเพดานในช่องปาก
สาเหตุ
ติดเชื้อทางเดินหายใจ
แบคทีเรียไวรัสเชื้อรา
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
แผลในปากจากฟันผุ
พยาธิสภาพ
เยื้อหุ้มชั้นในของผนังหัวใจบาดเจ็บจนเกิดเป็น vegetation
เกิดการเกาะตัวของเกร็ดเลือดและ fibrin
sterile thrombus
เมื่อ sterile thrombus เกิดขึ้นประกอบกับร่างกายมีภาวะติดเชื้อ
กระแสเลือดจะไปเกาะกับเยื่อหุ้มชั้นในของผนังหัวใจที่ได้รับบาดเจ็บ
คววามผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ coronary artery disease CAD
กลไกการไหลเวียนของหลอดเลือดโคโรนารี
เลือดแดงจากหลอดเลือดโคโรนาร็จะถูกส่งไปหล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจโดยแยกออกเป็น
left coronary artery
หล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้าย interventricular septum และ anterior papillary muscle ของหัวใจห้องล่างซ้าย
right coronary artery
เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาและแยกอ้อมไปทางด้านหลังเป็น posterior descending artery, artrioventricular node las posterior papillary muscle นอกจากนี้หลอดเลือดแดงโคโรนารีขวายังส่งเลือดไปเลี้ยง SA node
พยาธิของโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี
เซลล์บุผนังหลอดเลือดโคโรนาริด้านในมีไขนชนิด LDL-C สะสมในช่องว่างตรง extracellular subendothelial space
ไขมัน LDL-C ออกซิไดซ์เป็น LDL เป็นอันตรายต่อเซลล์บุผนังหลอดเลือดโดยการสร้างเคมีที่มีฤทธิ์ดึง monocyte เข้าไปในผนังหลอดเลือดกลายเป็น macrophage คอยจับกินไขมันแล้วกลายเป็น form cell แทรกตัวอยู่ในเยื่อบุผนังหลอดเลือดชั้นใน
form cel ทำให้เกิดรอยไขมัน fatty streak ทำให้ผนังชั้นในของหลอดเลือดนูขึ้นเล็กน้อย
รอยไขมันจะเปลี่ยนเป็นไขมัน fibrous plaque ที่ผนังหลอดเลือดแดง
หลอดเลือดแดงอักเสบจนแข็งและหนาวขึ้นก้อนไขมันจะทำให้ภายในหลอดเลือดแดงโคโรนารีตีบแคบ
ถ้ามีการปริแตกของก้อนไขมันอยู่ผนังของหลอดเลือดแดงอย่างเฉียบพลัน
ทำให้เกิดการก่อตัวของลิ่มเลือดจนทำให้หลอดเลือดอุดตันอย่างรวดเร็วจนเกิดอาการหลอดเลือดโคโรนารีอย่างเฉียบพลัน
การดำเนินโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดทำให้เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจขาดออกซิเจน
เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันและจะเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆถึงกับเสียชีวิตได้
สาเหตุการอุดตันของ CAD
ส่วนใหญ่สาเหตุมาจาก non-arterosclerotic และความผิดปกติ แต่กำเนิดของหลอดเลือดโคโรนารี
อาการแสดง
เหนื่อยง่ายขณะออกแรง
ใจสั่น palpitation
ไอเป็นเลือด cough of hemoptysis
เจ็บหน้าอก angina pectoris
ภาวะเจ็บหน้าอกแบบอาการไม่คงที่
ภาวะเจ็บหน้าอกแบบคงที่
ปัจจัยเสี่ยงของโรค
บุหรี่ภาวะความดันโลหิตสูงการไม่ออกกำลังกายความอ้วนเบาหวานความเครียดยาคุมกำเนิด
ความเครียด
การรักษา
รับประทานยาพวกยาต้านการเกาะกลุ่มของเกร์ดเลือดยาขยายหลอดเลือดยาลดไขมันในเลือด
การทำหัตถการหลอดเลือดหัวใจผ่านสายสวน
โรคลิ้นหัวใจรั่ว valvular regurgitation
พยาธิสภาพการรั่วของลิ้น mitral
เลือดไหลย้อนจาก LV ไป LA LV และ LA เกิด hypertrophy
ความดันใน pulmonary vein สูงขึ้นเกิด pulmonary edema
RV failure เกิดท้องมานและบวมที่ขา 2 ข้าง
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลียหอบเหนื่อย
บวมหลอดเลือดที่คอโปงตับโตใจสั่น
พยาธิสภาพการรั่วของลิ้น aortic
เลือดไหลย้อนเข้า LV เกิด LV hypertrophy
SBP สูงเพื่อส่งเลือดออกไปให้ได้เพียงพอกับร่างกาย DBP ต่ำเพราะเลือดรั่วไหลกลับเข้า LV
กิดเลือดคั่งในปอดและ Heart failure ได้
อาการและอาการแสดง
หอบเหนื่อยโดยเฉพาะท่านอนราบ
หลอดเลือดที่คอเต้นแรงกว่าปกติ
โรคหัวใจตีบ valvular stenosis
พยาธิสภาพการตีบของลิ้น aortic
ลิ้น aortic ตีบการไหลของเลือดจาก LV สู่ Aorta ไม่ดี
เลือดออกจากหัวใจน้อยลง
อาการและอาการแสดง
หายใจลำบาก Dyspnea
เจ็บแน่นหน้าอก Angina
เป็นลมหมดสติ
หัวใจล้มเหลว
พยาธิสภาพการตีบของลิ้น mitral
เลือดไหลเข้า LV ทำให้เลือดค้างใน LA มากขึ้นเกิดน้ำท่วมปอด LA และ LV เกิด hypertrophy
เลือดที่ไหลเข้าสู่ LV มีลักษณะไหลวนกลับ
ถ้าไปคั่งที่ pulmonary จะเกิด pulmonary edema
LV failure จนเกิด RV failure และเกิด Heart Failure ภาวะหัวใจล้มเหลว
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลียไม่มีแรงใจสั่น
หอบเหนื่อยไอเป็นเลือดออกแดงชมพู
กลืนอาหารลำบากเสียงแหบเจ็บหน้าอกอาจชักหมดสติ
STEMI และ NSTEMI ต่างกันอย่างไร
ต่างกันที่ STEM จะพบความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็น SG segment แต่ NSTEM จะพบลักษณะคลื่นหัวใจไฟฟ้าเป็น ST segment depression
โรคลิ้นหัวใจรั่วจะทำให้เด็กภาวะใด
โรคลิ้นหัวใจรั่วจะทำให้เกิดภาวะ Volume load
อาการของ Infective Endocarditis มีลักาณะอย่างไร
UD ผู้ป่วยที่มีอาการไข้ร่วมผู้ป่วยที่มีการดำเนินโรคแบบค่อยเป็นค่อยไปผู้ป่วยที่มีการดำเนินโรคแบบค่อยเป็นค่อยไป
นางสาวชลนิภา กัมทอง รหัสนักศึกษา:634N46207