Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช - Coggle Diagram
บทที่ 1
มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช
แนวคิดการเกิดโรคทางจิตเวชและปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวช
stress diathesis model
การมียีนส์หรือการรวมกันทางพันธุกรรมที่เฉพาะเจาะจง
บางอย่างส่งผลให้เกิดจุดอ่อน หรือเป็นปัจจัยเสี่ยงให้เกิดโรคได้
จุดอ่อนทางพันธุกรรมถูกกระตุ้นด้วยด้วย
ปัจจัยบางประการหรือสถานการณ์ความเครียดก็จะก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ผิดปกติได้
บุคคลจะมีจุดอ่อนทางพันธุกรรมหรือความเสี่ยงในการเกิดโรคที่แตกต่างกัน
บุคคลที่จะเจ็บป่วยทางจิตได้จะต้องมีจุดอ่อนทางพันธุกรรมรวมกับการมีสถานการณ์ความตึงเครียดทางสิ่งแวดล้อมด้วยซึ่งปัจจัยทั้งสองอย่างนี้มีปฏิกิริยาต่อกัน
case formulation
ปัจจัยเสี่ยง (predisposing factors)
สถานการณ์ สิ่งแวดล้อม หรือสิ่งที่แฝงอยู่ในตัวบุคคล
นำไปสู่การเกิดความผิดปกติของโรคทางจิตเวชก่อนที่จะปรากฏความผิดปกติของจิตเวชขึ้น
พันธุกรรม
ภาวะโภชนาการ
การเลี้ยงดู
บุคคลิกภาพ,
ประการณ์การเจ็บป่วยทางกาย
รายได้
ปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการ (precipitating factors)
สิ่งที่ทำให้บุคคลเริ่มปรากฏความผิดปกติของโรคทาจิตเวชขึ้น
การใช้สารเสพติด
การนอนหลับเปลี่ยนแปลง
สอบตก
สัมพันธภาพล้มเหลว (แฟนทิ้ง/หย่า/แยกกัน)
การมีหนี้สิน
ปัจจัยที่ทำให้อาการคงอยู่ (perpetuating factors)
สิ่งทำให้อาการความผิดปกติของโรคทาจิตเวชที่เกิดขึ้นยังไม่หายไป หรือไม่ดีขึ้นเท่าที่ควร
การไม่ได้รับการรักษา,
การไม่รับประทานยาต่อเนื่อง,
รู้สึกผิดในเรื่องที่ตนเองทำผิด
การไม่ยอมรับความเจ็บป่วย,
ขาดแหล่งช่วยเหลือทางสังคม,
พฤติกรรมการใช้ยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง
ปัจจัยปกป้อง (protective factors)
สิ่งที่ช่วยให้บุคคลปรับตัวต่อสถานการณ์ สิ่งแวดล้อมที่ผลต่ออาการความผิดปกติของโรคทางจิตเวชที่มีไม่ให้รุนแรงหรือช่วยให้ความผิดปกตินั้นหายคืนสู่สภาพปกติ
มีงานทำ
ครอบครัวมีสัมพันธภาพที่ดีห่วงใยดูแลซึ่งกันและกัน
การมีความสามารถในการแก้ไขปัญหา
มีสิทธิหรือสวัสดิการในการรักษาสุขภาพ
การมีแหล่งสนับสนุนทางสังคมที่ช่วยเหลือเมื่อประสบปัญหา
ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวช
ปัจจัยทางกายหรือชีวภาพ (Biological factors)
การทำหน้าที่ผิดปกติของสารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
dopamine
norepinephrine
acetylcholine
serotonin
GABA (gamma amino butyric acid)
ความผิดปกติของโครงสร้างและการทำงานของสมอง
ความผิดปกติที่มีมาแต่กำเนิด (congenital abnormal)
ความผิดปกติของฮอร์โมนในร่างกาย (hormonal factor)
การสะสมของสารพิษภายในร่างกาย (toxic substance alcoholism)
ความเจ็บป่วยหรือโรคทางสมอง
ปัจจัยทางด้านจิตใจ (psychological factors)
ทฤษฎีจิตวิเคราะ
ปัญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพ และพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์มีสาเหตุมาจากการทำงานของโครงสร้างบุคลิกภาพที่ไม่สมดุลกัน (Id, Ego และ Superego)
ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม (humanistic theories)
ปัญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพและพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์มีสาเหตุมาจากความไม่รู้ ไม่เข้าใจปัญหาที่แท้จริงของตนเอง
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ปัญหสุขภาพจิต บุคลิกภาพและพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์มีสาเหตุมาจาก ประสบการณ์ของมนุษย์ที่ผ่านการเรียนรู้การตอบสนองต่อสิ่งเร้าในสภาวะสิ่งแวดล้อมต่าง ๆในช่วงชีวิตที่ผ่านมา ซึ่งจะกระตุ้นให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมนั้นออกมาซ้ำ ๆ จนกลายเป็นความเคยชิน
ทฤษฎีกลุ่มปัญญานิยม
มองปัญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพ และพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์มีสาเหตุมาจาก ความคิด ความเชื่อที่ผิดปกติหรือไม่สมเหตุสมผลขอมนุษ ทำให้มนุษย์มีข้อจำกัด
ปัจจัยทางด้านสังคม (social factors)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
ลักษณะการอบรมเลี้ยงดู
การอบรมเลี้ยงดูแบบเผด็จการ (authoritarian)
การอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย (rejection)
การอบรมเลี้ยงดูแบบทนุถนอมมากเกินไป (overprotection)
การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย (democracy)
เศรษฐกิจและสังคม
วัฒนธรรม
การเมือง
ปัจจัยทางจิตวิญญาณ (spiritual factors)
ปรัชญาชีวิต (Philosophy of Life)
การให้ความหมายแก่สิ่งที่สำคัญในชีวิต
สิ่งที่นับถือหรือที่พึ่งทางใจ (concept of deity)
ศาสนา
อาการวิทยาและเกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวช
กลุ่มของอาการและอาการแสดงทางจิตเวช
ความผิดปกติของความรู้สึกตัว (disturbance of consciousness)
ชนิดที่ 1 ความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัว (disturbance of level of consciousness)
coma สภาวะที่ไม่รู้สึกตัว
clouding of consciousness ความรู้สึกตัวไม่สมบูรณ์ร่วมกับมีการรับรู้และการแสดงออกผิดปกติด้วย
disorientation ความบกพร่องของการตระหนักรู้ถึงตนเอง เวลา สถานที่ และบุคคล(orientation)
drowsiness ความสามารถในการตระหนักรู้ลดลงเพราะง่วงนอน
somnolence อาการง่วงมากผิดปกติแต่หากได้รับการกระตุ้นก็จะกลับมาตื่นและรู้สึกตัว
stupor ไม่สามารถตระหนักรู้และตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม
sundowning ลักษณะที่อาการทางจิต ปัญหาพฤติกรม หรือความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงไป โดยฉพาะเมื่อป็นเวลาช่วงหัวค่ำหรือกลางคืน มักป็นลักษณะที่พบใน delirium
ชนิดที่ 2 ความผิดปกติของการคงความใส่ใจ (disturbance of attention)
distractibility ไม่สามารถพุ่งความสนใจในสิ่งที่สำคัญได้ แต่กลับไปใส่ใจกับสิ่งเร้าที่ไม่สำคัญหรือไม่เกี่ยวข้อง
hypervigilance สนใจและมุ่งความสนใจในสิ่งเร้าทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นสิ่งเร้าที่มาจากภายนอกหรือจากภายในร่างกาย มักเกิดจากอาการหลงผิดหรือมาจากอาการระแวง
trance ความใส่ใจจะถูกรวมไว้ที่จุดเดียว ร่วมกับมีความไม่ต่อเนื่องของระดับความรู้สึกตัวมักพบในการสะกดจิต และ dissociative disorder
ชนิดที่ 3 ความผิดปกติของการถูกชักจูง (disturbance of suggestibility)
folie a deux ภาวะที่บุคคลสองคนมีความผิดปกติทางจิตร่วมกัน
hypnosis ภาวะที่มีการชักนำให้บุคคลมีระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงไป ร่วมกับทำให้ถูกชักจูงและทำตามคำสั่งได้ง่าย
ความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลื่อนไหว (disturbance of motor behavior)
abulia การไม่มีเจตจำนง (amotivation)
พบได้ในกลุ่มโรคจิตหรือโรคซึมเศร้า
acting out เป็นการกระทำอย่างวู่วาม
aggression คือ การเคลื่อนไหวด้วยความก้าวร้าว
พบได้บ่อยในโรคทางระบบประสาทและโรคทางจิตเวชในกลุ่มโรคทางอารมณ์และโรคจิต
automatism การเคลื่อนไหวที่เป็นไปตามจิตไร้สำนึก (unconscious system)
พบได้ใน complex partial seizure
catatonia
catalepsy การหยุดนิ่งในท่าใดท่าหนึ่งที่ขัดกับแรงโน้มถ่วงเป็นเวลานาน
catatonic excitement มีการเคลื่อนไหวมากแบบควบคุมตนเองไม่ได้ ร่วมกับมีลักษณะกระสับกระส่าย (agitation)
catatonic stupor มีการเคลื่อนไหวน้อยมากจนแทบจะหยุดนิ่ง ร่วมกับมีลักษณะของการไม่ตระหนักรู้ต่อสิ่งกระตุ้นรอบ ๆ ตัว
catatonic rigidity การจงใจทำตัวแข็งทื่อและต่อต้านแรงที่จะมาทำให้เกิดการเคลื่อนไหว
catatonic posturing การเปลี่ยนไปอยู่ในท่าที่ประหลาดหรือไม่เหมาะสม ขัดกับแรงโน้มถ่วงและค้างอยู่ในท่านั้นเป็นเวลานาน ๆ
catatonic flexibilitas (waxy flexibility) การที่ค้างอยู่ในท่าที่จัดไว้ โดยมีแรงต้านเมื่อถูกจัดท่าโดยผู้ตรวจ เหมือนหุ่นชี้ผึ้งที่ถูกปั้น
echopraxia การทำท่าทางเลียนแบบท่าทางของบุคคลอื่น
mannerism แสดงท่าทีที่แปลก ดูมีจริตเกินจริง
negativism อาการต่อต้านต่อคำสั่งทุกคำสั่ง ซึ่งเป็นการต่อต้านโดยไม่มีจุดมุ่งหมาย
stereotypy มีการเคลื่อนไหวซ้ำ ๆ ที่ไม่มีเป้าหมายและไม่มีประโยชน์
cataplexy ความตึงตัวของกล้ามเนื้อหายไปอย่างฉับพลัน ทำให้เกิดการอ่อนแรงขยับตัวไม่ได้
command automatism หรือ automatic obedience การทำตามคำชักจูงอย่างอัตโนมัติ
mutism ไม่พูดหรือพูดไม่ได้
motor overactivity การเคลื่อนไหวมากเกินไป
akathisia รู้สึกตึงกล้ามเนื้อจนต้องขยับบ่อย ๆ
hyperactivity หรือ hyperkinesis การเคลื่อนไหวมากขึ้น โดยมีอาการวอกแวกอยู่ไม่นิ่ง แต่พอควคุมได้
tic การกระตุกของกล้มเนื้อแบบ repetitive และ ไม่มีจังหวะชัดเจน (nonrhythmic) โดยไม่สามารถบังคับได้
compulsion การย้ำทำ คือมีการทำซ้ำ ๆ แบบไม่สมารถหักห้ามได้
psychomotor agitation มีกิจกรรมที่เป็นทั้งการเคลื่อนไหวและพุทธิปัญญาทำงานมากเกินไปจนคุมไม่ได้
hypoactivity หรือ hypokinesis มีกิจกรรมที่เป็นการเคลื่อนไหวและพุทธิปัญญาทำงานลดลง
ความผิดปกติของการพูด (disturbance of speech)
cluttering พูดเป็นจังหวะติด ๆ ขัด ๆ
dysarthria ความผิดปกติในการเปล่งเสียงพูด
dysprosody กรพูดแบบไม่มีเสียงขึ้นลงตามลักษณะปกติของการพูด
การพูดของบุคคลที่มีโรคซึมเศร้า
nonspontaneous speech กรพูดเฉพาะเวลาถูกถาม
poverty of speech การพูดมีปริมาณคำน้อยมา
poverty of content of speech กรพูดมีเนื้อความน้อยแม้ปริมาณคำ
pressure of speech พูดมาก พูดเร็ว และเร่งขึ้นเรื่อย ๆ
stuttering คือ พูดติดอ่าง
Volubility หรือ logorrhea พูดมากและพูดเร็วอัดกันโดยที่เนื้อหาเชื่อมโยงกัน
ความผิดปกติของอารมณ์ (disturbance of emotion)
ความผิดปกติของอารมณ์ที่แสดงออก (disturbance of affect) affect
appropriate affect การแสดงออทางอามณ์ที่สมเหตุสมผล หรือสอดคล้องกับเหตุการณ์ในขณะนั้น
blunted affect ความเข้มข้นของอารมณ์ที่แสดงออกลดลงอย่างมาก
flat affect ไม่มีหรือเกือบจะไม่มีการแสดงออกของอารมณ์ ใบหน้านิ่งเฉยและพูดด้วยน้ำเสียงราบเรียบ
inappropriate affect กรแสดงออกของอารมณ์ที่ไม่สอดคล้องกับความคิดและคำพูดในชณะนั้น
labile affect อรมณ์ที่แสดงออกเปลี่ยนแปลงง่ยและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วโดยไม่สอดคล้องกับสิ่งกระตุ้นภายนอก
restricted affect หรือ constricted affect ความเข้มขัน (intensity) ของอารมณ์ที่แสดงออกลดลง
ความผิดปกติของอารมณ์ (disturbance of mood) mood
alexithymia มีความยากลำบากหรือไม่สามารถบรรยายสภาพอารมณ์ของตนเอง
ambivalence อารมณ์สองฝักสองฝ่าย
anhedonia ไม่สนใจและถอนตัวจากกิจกรรมตามปกติที่เคยทำให้มีความสุข
anxiety อารมณ์วิตกกังวล
apathy อารมณ์เฉยชา ไม่มีชีวิตชีวา ไม่ไยดี
depression อารมณ์เศร้า
dysphoric mood อารมณ์ไม่พึงพอใจ
ecstasy ปลาบปลื้มปิติสุขอย่างเหลือล้น
elevated mood เบิกบานร่าเริงและมั่นใจมากกว่าปกติ
euphoria ปลื้มปิติยินดีร่วมกับมีความรู้สึกฮึกเหิม (grandeur) หรือเคลิ้มสุขด้วย
euthymic mood อารมณ์เป็นปกติ ไม่เศร้าหรือร่าเริงจนเกินไป
expansive mood มีการแสดงออกของอารมณ์อย่างเต็มที่
fear สภาวะทางอารมณ์ที่ตอบสนองต่ออันตรายที่มาคุกคาม
free-floating anxiety อารมณ์วิตกกังวลอย่างมากในทุกเรื่อง
grief หรือ mounding อารมณ์เศร้าที่เกิดจากสูญเสีย
guilt รู้สึกผิด
irritable mood หงุดหงิด รู้สึกรำคาญและเกิดอารมณ์โกรธได้ง่าย
mood swing อรมณ์แกว่ง
shame ความรู้สึกอาย
ความผิดปกติของความคิด (disturbance of thinking)
ชนิดที่ 1 ความผิดปกติโดยรวมของความคิด
autistic thinking ความคิดหมกนอยู่กับโลกภายในหรือโลกส่วนตัว
illogical thinking การคิดแบบไม่มีหลักตรรกศาสตร์
reality testing คือ ความสามารถในการประเมิน (evaluation) และพิจารณา (judgment) สิ่งต่าง ๆ ตามที่เป็นจริง
ชนิดที่ 2 ความผิดปกติของกระบวนการคิด (disturbances in form of thought)
circumstantiality ความคิดอ้อมค้อม
clang association ความคิดเชื่อมโยงกันด้วยคำพ้องเสียง
flight of ideas ความคิดเปลี่ยนจากประเด็นหนึ่งไปอีกประเด็นหนึ่งอย่างรวดเร็ว
incoherence ความคิดสะเปะสะปะ
loosening of association หรือ derailment ดิดออกนอกประเด็นและเนื้อความไม่เชื่อมโยงกัน
neologism ความคิดเกิดจกการผสมคำหรือวลีขึ้นใหม่ที่ผู้ฟังไมสามารถเข้าใจได้
perseveration ไม่สามารถเปลี่ยนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เปลี่ยนไปได้
tangentiality ความคิดอยู่ในหัวข้อเรื่องที่สนทนาแต่ก็ไม่ตรงประเด็นนัก
thought blocking กระบวนการคิดที่สะดุดหยุดกลางคัน
verbigeration หรือ cataphasia การซ้ำคำหรือวลีที่ไม่มีความหมาย
ชนิดที่ 3 ความผิดปกติของเนื้อหาความคิด (disturbance of content of thought)
delusion อาการหลงผิด คือ มีความเชื่ออย่างผิด ๆ
bizarre delusion เนื้อหาของความหลงผิดมีลักษณะเหลวไหล
delusion of control เนื้อหาของความหลงผิดว่าตนเองถูกควบคุมความตั้งใจ
thought broadcasting
thought control
thought insertion
thought withdrawal
delusion of self-accusation หลงผิดว่าตนเองกระทำความผิด
nihilistic delusion หลงผิดว่าตนเอง บุคคลอื่น หรือโลก ได้สูญสิ้น
paranoid delusion ความหลงผิด
persecutory delusion delusion of reference
delusion of grandeur
delusion of persecution
delusion of grandeur หลงผิดวาตนเองเก่ง
delusion of reference หลงผิดว่พฤติกรรมของคนอื่นมีความหมายพาดพิงถึงตนเอง
somatic delusion
systematized delusion
ความผิดปกติของการรับรู้สัมผัส (disturbance of perception)
ชนิดที่1 การรับรู้ผิดปกติแบบประสาทหลอน (hallucination)
auditory hallucination
gustatory hallucination
olfactory hallucination
tactile หรือ haptic hallucination
visual hallucination
ชนิดที่ 2 การรับรู้ผิดปกติแบบประสาทลวง (illusion)
การรับรู้ที่บิดเบือนไปจากสิ่งที่มากระตุ้นจริง
ชนิดที่ 3 การรับรู้ผิดปกติที่เป็นปรากฎการณ์ conversion และ dissociation
derealization
depersonalization
fugue
hysterical anesthesia
ชนิดที่ 4 ความผิดปกติของการรับรู้ที่เกิดความผิดปกติของพุทธิปัญญา(cognition)
anosognosia
astereognosis
prosopagnosia
somatopagnosia
visual agnosia
ความผิดปกติของความจำ (disturbance of memory)
immediate memory
recent memory
recent past memory
remote memory
ส่วนของความผิดปกติของความจำ (disturbance of memory)
amnesia สูญเสียความจำ
paramnesia คือ ความจำเป็นเท็จ
เกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวช
International Classification of Disease and Related Health Problem 10 th Revision (ICD 10)
F00-F99 ทางกาย
F10-F19 ทางจิตใจและพฤติกรรม
F20-F29 จิตเภทพฤติกรรม แบบจิตเภทและความหลงผิด
F30-F39 mood
F40-F49 โรคประสาท
F50-F59 พฤติกรรม
F60-F69 พฤติกรรมและบุคลิกภาพในผู้ใหญ่
F70-F79 mental retardation ภาวะปัญญาอ่อน
F80-F89 disorders of psychological development ความผิดปกติของพัฒนาการทางจิตใจ
F90-F99ความผิดปกติทางพฤติกรรมและอารมณ์ ที่มักเริ่มต้นในวัยเด็กและวัยรุ่น
F99 unspecified mental disorder ความผิดปกติทางจิตใจที่ มิได้ระบุรายละเอียด
Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder 5 th edition (DSM V)
Axis I: clinical syndromes
ข้อวินิจฉัยโรคและอาการทางจิต
Axis II: developmental disorders and personality disorders
ความผิดปกติด้านพัฒนาการและความบกพร่องทางปัญญาหรือปัญญาอ่อน
Axis III: physical conditions ภาวะความเจ็บป่วยทางกายของผู้ป่วย
Axis IV: severity of psychosocial stressors ปัญหาจากจิตสังคม
Axis V: Highest Level of Functioning เป็นการประเมินประสิทธิภาพของการปรับตัวของผู้ป่วย
สิทธิของผู้ป่วย กฎหมาย จริยธรรมในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
มาตรา 3
ความผิดปกติทางจิต
อาการผิดปกติของจิตใจที่แสดงออกมาทางพฤติกรรม อารมณ์ ความคิด ความจำ สติปัญญา ประสาทการรับรู้ หรือการรู้เวลา สถานที่ หรือบุคคล รวมทั้งอาการผิดปกดิของจิตใจที่เกิดจากสุราหรือสารอื่นที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
ผู้ป่วย
บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตซึ่งควรได้รับการบำบัดรักษา
ผู้ป่วยคดี
ผู้ป่วยที่อยู่ระหว่างการสอบสวน ไต่สวนมูกฟ้อง หรือพิจารณาในคดีอาญา
ภาวะอันตราย
พฤติกรรมที่บุคคลที่มีความผิดปกดิทางจิตแสคงออกโดยประการที่น่าจะก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สินของตนเองหรือผู้อื่น
ความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา
สภาวะของผู้ป่วยซึ่งขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการบำบัดรักษาและต้องได้รับการบำบัดรักษาโดยเร็วเพื่อป้องกันหรือบรรเทามิให้ความผิดปกติทางจิตทวีความรุนแรงหรือเพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยหรือบุคคลอื่น
คุมขัง
การจำกัดสิทธิเสรีภาพของบุคคลด้วยอำนาจของกฎหมายโดยการคุมตัว ควบคุม กัก กักกัน ขัง กักขัง จำขังและจำคุก
มาตรา 12
สถานบำบัดรักษาแต่ละแห่งให้มีคณะกรรมการสถานบำบัดรักษา ซึ่งแต่งตั้งโดยอธิบดีประกอบด้วย จิตแพทย์ประจำสถานบำบัดรักษา 1 คน เป็นประธานกรรมการ แพทย์ 1 คน พยาบาลจิตเวช 1 คน นักกฎหมาย 1 คน และนักจิตวิทยาคลินิกหรือนักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ 1 คนเป็นกรรมการ
มาตรา 13
คณะกรรมการสถาบำบัดรักษามีอำนาจหน้าที่
1) ตรวจวินิจฉัย ประเมินอาการ และมีคำสั่งให้บุคคลนั้นต้องเข้ารับการบำบัดรักษาในสถานบำบัดรักษา ให้บุคคลนั้นต้องรับการบำบัดรักษา ณ. สถานที่อื่นนอกจากสถานบำบัดรักษาเมื่อบุคคลนั้นไม่มีภาวะอันตราย
2) พิจารณา ทำความเห็นเกี่ยวกับการบำบัดรักษาและผลการบำบัดรักษาตามพระราชบัญญัติ
มาตรา 15
ผู้ป่วยย่อมมีสิทธิดังต่อไปนี้
1) ได้รับการบำบัดรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย์ โดยคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
2) ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการบำบัดรักษาไว้เป็นความลับ เว้นแต่มีกฎหมายบัญญัติไว้ให้เปิดเผยได้
3) ได้รับการคุ้มครองจากการวิจัย กระทำได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้ป่วยและต้องผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการที่ดำเนินการเกี่ยวกับจริยธรรมการวิจัยในคนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4) ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพและประกันสังคม และระบบอื่น ๆของรัฐอย่างเสมอภาคและเท่าเทียม
มาตรา 16
ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วย ในประการที่น่าจะทำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ป่วย เว้นแต่
1) ในกรณีที่อาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยหรือผู้อื่น
2) เพื่อความปลอดภัยของสาธารณชน
3) มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย
มาตรา 17
การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วย จะกระทำไม่ได้ เว้นแต่เป็นความจำเป็น
มาตรา 18
การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า
กรณีผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือเพื่อการบำบัดรักษานั้น
กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วย
มาตรา 19
การทำหมันผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้ เว้นแต่ได้ปฏิบัติตามมาตรา 18 ผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือ
มาตรา 20
การวิจัยใด ๆที่กระทำต่อผู้ป่วยจะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้ป่วยและต้องผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ
มาตรา 21
การบำบัดรักษาจะกระทำได้ ต่อเมื่อผู้ป่วยได้รับการอธิบายเหตุผล ความจำเป็นในการบำบัดรักษา รายละเอียด และประโยชน์ของการบำบัดรักษา และได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย
มาตรา 22
บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ เป็นบุคคลที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา
บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตและมีภาวะอันตราย
มีความเป็นไปได้ที่อันตรายจะเกิดขึ้น (probability that harm will occur)
มีความถี่ของอันตรายที่จะเกิดขึ้น (frequency with which the harm will occur)
มีความเป็นอันตรายที่ใกล้จะถึง (imminence of the harm)
บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตและมีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา
ผู้ป่วยขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการบำบัดรักษา
จำเป็นต้องได้รับการรักษาโดยเร็วเพื่อป้องกันหรือบรรเทามิให้ความผิดปกติทางจิตทวีความรุนแรงหรือเพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับผู้อื่น
มาตรา 23
ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีลักษณะบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตตามมาตรา 22 ให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจโดยไม่ชักช้า
มาตรา 27
ให้แพทย์อย่างน้อยหนึ่งคนและพยาบาลอย่างน้อยหนึ่งคน ที่ประจำสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบำบัดรักษา ตรวจวินิจฉัย และประเมินอาการเบื้องต้นของบุคคลที่มีการนำส่ง
มาตรา 35
การตรวจวินิจฉัยของจิตแพทย์ในการพิจารณา และเมื่อบุคคลนั้นพิสูจน์ได้ว่าวิกลจริตจริง บุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องอาจขอร้องต่อศาล สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้และตั้งผู้อนุบาลได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 29
บุคคลวิกลจริตผู้ใด ถ้าภริยาสามีก็ดี ผู้บุพการี คือ บิดา มารดา ปู่ย่า ตายาย ทวด ผู้สืบสันดาน คือ ลูก หลาน เหลน ผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์หรือพนักงานอัยการร้องขอต่อศาล แล้วศาลจะสั่งให้บุคคลผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถคำสั่งนั้นให้โฆษณาตามในราชกิจจานุเบกษา
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 30
บุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถนั้น ท่านว่าต้องจัดให้อยู่ในความอนุบาล
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 31
การใด ๆ อันบุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้ทำลงไป การนั้นท่านว่าเป็นโมฆียะ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 32
การใด ๆ อันบุคคลวิกลจริตได้ทำลง แต่หากศาลยังมิได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถการนั้น จะเป็นโมฆียะก็ต่อเมื่อพิสูจน์ด้วยว่าได้ทำลงในเวลาซึ่งบุคคลนั้นวิกลจริตอยู่และคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้รู้แล้วด้วยว่าผู้ทำเป็นคนวิกลจริต