Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ Valvular heart disease : VHD - Coggle Diagram
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
Valvular heart disease : VHD
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจมี 2 ชนิด
โรคลิ้นหัวใจตีบ (valvular stenosis) ซึ่งโรคลิ้นหัวใจตีบจะทำให้เกิดภาวะ pressure load ทำให้มีการ
เปลี่ยนแปลงต่อกล้ามเนื้อหัวใจเป็นแบบหนาตัว (hypertrophy)
โรคลิ้นหัวใจรั่ว (valvular Regurgitation) ซึ่งโรคลิ้นหัวใจรั่วจะทำให้เกิดภาวะ volume load ทำให้มี
การเปลี่ยนแปลงต่อกล้ามเนื้อหัวใจเป็นแบบยืดขยายออก (dilatation)
สาเหตุการเกิดโรค
โรคลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิดตอนเด็กจะมีอาการเหนื่อยง่าย เจริญเติบโตช้า ตัวเขียว
โรคลิ้นหัวใจรูห์มาติค เกิดจากการติดเชื้อจนหัวใจเกิดการอักเสบ
โรคลิ้นหัวใจเสื่อมในคนสูงอายุ มักเกิดจากหินปูนเกาะที่ลิ้นหัวใจ
โรคลิ้นหัวใจอักเสบติดเชื้อ มักพบในคนไข้ที่ทำฟัน
โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ทำให้สูญเสียความสามารถในการยึดลิ้นหัวใจ
Mitral valve stenosis
พยาธิสภาพ
คือจะมีเนื้อเยื่อ Fibrous แทนที่เนื้อเยื่อเดิมของลิ้นหัวใจ จึงทาให้ลิ้นหัวใจหนาและ แข็ง ลิ้น Mistral เปิดในขณะที่หัวใจคลายตัว (Diastole) การตีบของลิ้น Mitral จึงทาให้เลือดไหล จาก Left atrium ลงสู่ Left ventricle ได้ไม่ดี เมื่อ Left ventricle บีบตัวจึงมีเลือดออกจากหัวใจ น้อยลด Cardiac output
อาการและอาการแสดง
หอบเหนื่อยและไอเป็นเลือดออกแดง ชมพู อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ใจสั่น กลืนอาหารลำบาก เสียงแหบ เจ็บหน้าอก หรืออาจชักหมดสติ
Aortic valve stenosis
พยาธิสภาพ
การตีบของลิ้น Aortic ทำให้การไหลของเลือดจาก LV สู่ Aorta ไม่ดี ทำให้เลือดออกจากหัวใจน้อยลง
อาการและอาการแสดง หายใจลำบาก เจ็บแน่นหน้าอก เป็นลมหมดสติ ภาวะหัวใจล้มเหลว Sudden death (เสียชีวิต)
Mitral valve regurgitation
พยาธิสภาพ
เลือดไหลย้อนจาก LV ไป LA แล้วLV และ LA เกิด hypertrophy ทำให้ความดันใน pulmonary vein สูงขึ้นเกิด pulmonary edema RV failure เกิดท้องมานและบวมที่ขา 2 ข้าง
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลียหอบเหนื่อยขณะออกก าลังกายหรือหอบในท่านอนราบ บวม หลอดเลือดที่คอโป่ง ตับโต ใจสั่น
Aortic valve regurgitation
พยาธิสภาพ
เลือดไหลย้อนเข้า LV แล้ว LV hypertrophy SBP (Systolic Blood Pressure) สูง พื่อส่งเลือดออกไปให้ได้ เพียงพอกับร่างกาย DBP (Diastolic Blood Pressure) ต่ำเพราะเลือดรั่วไหลกลับเข้า LVเกิดเลือดคั่งในปอด และ Heart Failure ได้
อาการและอาการแสดง
หอบเหนื่อย โดยเฉพาะในท่านอนราบหลอดเลือดที่คอเต้นแรงกว่าปกติ