Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
**การพยาบาลผู้ป่วย ที่มีความผิดปกติเกี่่ยวกับการได้ยิน - Coggle Diagram
**การพยาบาลผู้ป่วย
ที่มีความผิดปกติเกี่่ยวกับการได้ยิน
โรคหูน้ำหนวก
(Otitis media)
สาเหตุ
เป็นหวัด คัดจมูก คออักเสบ การขึ้นเครื่องบิน เนื้องอกบริเวณช่องหลังโพรงจมูก
การทำ Valsava Maneuver
การรักษาทางยา
การทำ myringostomy คือการเจาะเยื่อแก้วหูแล้วใส่ท่อคาไว้ เพื่อให้ลมผ่านเข้าออกได้ตลอดและระบายของเหลวในหูชั้นกลางออกมา
Acute otitis media เป็นภาวะหูน้้าหนวกที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้นๆพบมากในเด็กอายุต่้ากว่า8 ปี
Serous Otitis media เป็นภาวะหูน้าหนวกที่มีน้าใสขังค้างอยู่ในหูชั้นกลาง
Chronic otitis media (หูชั้นกลางอักเสบเรื้อรัง) เป็นภาวะหูน้้าหนวกที่เกิดเป็นซ้้าและเป็นอยู่เวลานานๆ
อาการและอาการแสดง
เยื่อแก้วหูทะลุ ,มีของเหลวเป็นหนองไหลออกจากหู ,หูอื้อ บางรายสูญเสียการได้ยิน
ภาวะแทรกซ้อน
Cholesteatoma เป็นก้อน มีสีขาวเป็นมันวาว โดยก้อนที่เกิดขึ้นท้าลายกระดูกหูทั้ง 3 ชิ้น และ กระดูกmastoid
Facial Nerve Paralysis
ฝีที่บริเวณกระดูกกะโหลกศีรษะ หรือเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การรักษา
การรักษาทางยา
การผ่าตัด
โพรงกระดูกมัสตอยด์อักเสบ (Mastoiditis)
สาเหตุ
เกิดภายหลังจากการมีหูชั้นกลางอักเสบนานๆ
จะมีการลุกลามของหนองจากหูชั้นกลาง
เข้าไปในโพรงกระดูกมัสตอยด์
อาการ
อาการปวด บวมแดง
ร้อนที่บรขเวณหตังใบหู
มีไข้
การรักษา
การผ่าตัด Simple Mastoidectomyเป็นการผ่าเอาหนองออกจากโพรงกระดูกมาสตอยด์
การผ่าตัด (Radical mastoidectomy) เป็นการผ่าโพรงมาสตอยด์และโพรงอากาศรอบมาสตอยด์หูชั้นนอกและหูชั้นกลางเป็นช่องเดียวกัน เพื่อเอาหนองและกระดูกที่ผุออกทั้งหมด
โรคเวียนศีรษะ
(Meniere's Disease)
สาเหตุ
อาจจะเกิดจากอุบัติที่ศีรษะ การติดเชื้อ ภูมิแพ้ หรือเกิดจากการเสื่อมของเซลล์
การรักษา
เลือกรับประทานอาหารที่มี K สูง
ลดอาหารคาเฟอีน
จำกัดเกลือ ของหมักดอง
พักผ่อนให้เพียงพอ
ให้ยา ระงับอาการเวียนศีรษะ ยาขยายหตอดเตือด ยาขับปัสสาวะ ยาบารุงประสาท
อาการบ้านหมุน
(Vertigo)
เป็นอาการเวียนศีรษะที่มีอาการบ้านหรือสิ่งแวดล้อมหมุน อาเจียน ยืนทรงตัวไม่ได้ เมื่อมีการเปลี่ยนท่าหรือหันหน้า
สาเหตุ
สาเหตุที่แท้จริงไม่ทราบ ผู้เกิดอาการนี้หากอายุน้อยกว่า 50 ปีสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากอุบัติเหตุที่ศีรษะ
การรักษา
การรักษาทางยา
การทำกายภาพบำบัดการฟื้นฟูสมรรถภาพการทรงตัวสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการเวียนศีรษะเรื้อรัง
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การสูญเสียการได้ยิน
(Hearing loss)
หูปกติ ได้ยินที่ระดับความดัง 10 -25 dB
หูตึง ได้ยินที่ มากกว่า 27 –93dB
93 dB ขึ้นไป หูหนวก ไม่ได้ยินเสียงเลย
Conductive hearing loss เป็นผลจากหูชั้นนอกและกลางผิดปกติ
Sensorineural hearing loss เกิดจากหูชั้นใน
Mixed hearing lossพบหูชั้นนอก กลาง และใน ผิดปกติ
การตรวจร่างกาย
การดู การคลำ
การตรวจช่องหู (Otoscopy)
การตรวจด้วยเครื่องมือ
Rinne test
Air conduction (AC)
Bone conduction (BC)
การแปลผล
Positive คือ AC > BC พบในคนปกติ หรือคนที่ประสาทหูพิการ
Negative คือ BC > AC พบแบบระบบ
การน้าเสียงเสีย
Weber test
เป็นการทดสอบเพื่อเปรียบเทียบการนาเสียง ทางกระดูก (BC)
วางส้อมเสียงบริเวณหน้าผาก หรือ คาง
การแปลผล
ปกติ ได้ยินเท่ากัน 2 ข้าง
การน้าเสียงบกพร่อง ข้างที่มีปัญหาจะได้ยินชัดเจนกว่า
ระบบประสาทรับฟังเสียงบกพร่อง ข้างที่ดีจะได้ยินชัดเจนกว่า
Audiometry
การแปลผล
Normal Audiogram
Abnormal Audiogram
การซักประวัติ
อาการสำคัญ
ปวด ระคายเคือง คัน หนักในหู
เวียนศีรษะ
หูอื้อ การได้ยินลดลง
ของเหลวไหลจากหู
มีเสียงรบกวนในหู
การติดต่อสื่อสารกับผู้ป่วยที่สูญเสียการได้ยิน
ให้ผู้ป่วยรู้ตัวล่วงหน้าก่อนการสนทนา
เลือกสถานที่แสงสว่างเพียงพอ
พูดช้าๆ ชัดเจน ไม่ตะโกน
ใช้ท่าทางประกอบการพูดคุย
อย่าหัวเราะ เคี้ยวอาหาร ขณะสนทนา
ใช้ค้าพูดที่เข้าใจง่าย
อย่าแสดงสีหน้าเบื่อหน่าย
การผ่าตัดหู
Tympanoplasty Type I (Myringoplasty)
เป็นการผ่าตัดซ่อมแซมเยื่อแก้วหูที่ฉีกขาด
Tympanoplasty Type II to V
เป็นการผ่าตัดซ่อมแซมถึงกระดูกหู 3 ชิ้น
Tympano-mastoidectomy
Stapedectomy
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดหู
ก่อนผ่าตัด
การประเมินสภาพ
การเตรียมตัวทั่วไป
ตัดผมออกกว้างห่าง 1 นิ้ว
ผล Lab ต่าง ๆ
ให้ยาก่อนไป OR
Psycho-support
หลังผ่าตัด
นอนราบตะแคงด้านที่ไม่ได้รับการผ่าตัด
วัดสัญญาณชีพ ตามมาตรฐาน
สังเกตภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด คือ เลือดออก N/V Vertigo อาการปวด
รับประทานอาหารเหลวในมื้อแรกหลังการผ่าตัด
ให้คำแนะน้า ในการปฏิบัติตน เรื่อง ไม่ให้สั่งน้้ามูก ไอ จามแรง ๆ หรืออ้าปากเวลา ไอ จาม แผลไม่ให้เปียกน้้า นอนตะแคงและเคี้ยวอาหารด้านตรงกันข้ามกับที่ผ่าตัด และห้ามเอาส้าลีในช่องหูออก
สังเกตอาการอัมพาตของใบหน้า เนื่องจากเส้นประสาทคู่ที่7ได้รับการกระทบกระเทือน เช่น มุมปากตก อ้าปากไม่ขึ้น ชาใบหน้า
คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
บอกการปฏิบัติตัวตามโรค เช่น การท้าแผล การหยอดหู ไม่ความเดินทางไกลด้วยเครื่องบิน หรือด้าน้้าในระยะ 6 เดือนแรก ระวังอาการไอ จามแรง ๆ อาจท้าให้แก้วหูทะลุได้
แนะนำอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์
ควรพักผ่อน 6 ชม/วัน
มาตรวจตามนัด
การวินิจฉัยการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดหู
เกิดความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับการผ่าตัดทางหู
ปวดหูเนื่องจากการชอกช้้าของเนื้อเยื่อจากการท้าผ่าตัด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ
การรับคลื่นเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากการอุดตันภายในช่องหู
เสี่ยงต่อการบาดเจ็บเนื่องจากไม่สามารถควบคุมการทรงตัวได้
มีการเปลี่ยนแปลงการรับรู้ความรู้สึกบริเวณใบหน้าเนื่องจากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ถูกกระทบกระเทือน