Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ดนตรีพื้นบ้าน - Coggle Diagram
ดนตรีพื้นบ้าน
ลักษณะดนตรีพื้นบ้าน
งานศิลปะที่เกินจากศลปินจากหมู่บ้าน ปรับให้สอดคล้องกับคนในชุมชน
กิจกรรมตอบสนองความบันเทิงในชุมชน สามารถเป็นการแสดงออกทางพิธีกรรม ความเชื่อ
มีความเรียบง่าย ไม่เคร้งคลัด ให้สัมผัสพอเพราะหู เนื้อร้องไม่คงที่ต่ยตัว
เป็นสมบัติของชุมชน ทุกคนในชาวบ้านสามารถมีส่วนร่วมได้
มีวิธีการนำเสนอมีคำร้องเยอะเกี่ยวกับความรัก ด้นสด แสดงข้อคิด พรรณนา ไม่มีความซับซ้อนมากเกินไป เข้าใจง่าย
การเรียนแบบมุขปาฐะ ไม่มีการจดบันทึก สืบทอดแบบปากต่อปาก
ประเภท
ภาคกลาง
ภาคเหนือ
ภาคอีสาน
ภาคใต้
ความหมาย
เพลงที่ปรากฎในท้องถิ่น แสดงถึงภูมิปัญญา
มีความสำคัญทำให้คนในท้องถิ่นเป็นหนึ่งเดียวกัน
เกี่ยวข้องกับจิตใน ขนบธรรมเนียบประเพณีไทย
ปัจจัยที่มีผลต่อการสรางสรรค์ดนตรีพื้นบ้าน
ด้านสุนทรียภาวะ
สร้างสรรค์เพื่อเป้าหมายเฉพาะ เช่นการแห่นางแมว เพื่อขอฝน สร้างกลองมโหรทึก
สร้างเพื่อความงดงามในสุนทรียภาวะ จากจิตนาการของศิลปินเช่น สร้างเพลงเพราะความศรัศทา ฝันเห็นรูปปั้นก็เลยปั้นงานของเขาเอง
ด้านวิถีมนุษยสังคม
อาชีพ
เช่น การแหย่ไข่มดแดง ทำการเซิงเลียนแบบอาชีพคนขายไข่มดแดง
ฟ้อนสาวไหม แสดงท่าเก้บหม่อน ทอผ้าไหม เห็นความยากลำบากทำผ้าไหม
การระบำร่อนแร่ ภาคใต้มีอาชีพร่อนแร่ขายตามแม่น้ำ
สิ่งแวดล้อม
เครื่องดนตรี เช่นเครื่องดนตรีทำจากไม้ที่หาให้ตามป่าเขา
บทเพลง เช่นมีนำตก ก็ทำเพลงความสวยงามของน้ำตก
ประเพณีเทศกาล
ในฤดูน้ำหลาก ก็มีเพลงเรือ
เข้าพรรษา ก็มีเพลงรร่อยพรรษา
ลากพระ ภาคใต้
หลังทำนา มีการแข่งขันตี หรือกรือโต๊ะ การละเล่นของชาวไทยมุสลิม
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์
แหล่ รำวง หมอลำ ขับซอ หนังตะลุง
บรรจุเรื่องราวของชุมชนเป็นเพลง
เป็นการอนุรักษ์
เช่นมีการใช้ปี่พาษชาตรีประกอบหลังตะลุง