Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star:บทที่3 ขั้นตอนการประเมินความคิดเชิงทัศนศิลป์ - Coggle Diagram
:star:บทที่3 ขั้นตอนการประเมินความคิดเชิงทัศนศิลป์
ทัศนธาตุ
:confetti_ball:
พื้นผิว (Texture)
พื้นผิวจากวัสดุภายในผลงาน
:check:เนื้อไม้ของบ้าน
:check:กระดาษฟอยล์ทำหลังคา
:check:เศษผ้า,กระสอบป่าน,พลาสติก,กระดาษ
:check:ปูนยิปซั่ม
:check:เส้นลวด,เส้นเอ็น
พื้นผิวจากการลงสีภายในผลงาน
:check:คาบสนิม
:check:คราบเก่ากำแพง,บ้าน
:check:คราบตะไคร้
:check:พื้นไม้
:check:ของใช้ในบ้าน
เพื่อให้ความรู้สึก
ที่สมจริงมากที่สุดและความรู้สึกซับซ้อน
รูปร่าง รูปทรง (Shape/Form)
รูปทรงของบ้าน
เล็ก กลาง ใหญ่ ในบ้านแต่ละหลังจะของไม้กระดาน เสาบ้าน กำแพง ไม้ซี้ แผ่นปูน สังกะสีและข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ
สี (Color)
สีกลาง
-ขาว
-เทา
-น้ำตาล
-ดำ
-น้ำเงิน
-ฟ้า
-แดง
เพื่อต้องการ
ให้เป็นสีที่เหมือนจริงและต้องการให้รู้สึกผ่านกาลเวลาแต่ยังมีชีวิตอยู่
พื้นที่ว่าง (Space)
พื้นที่ว่างภายในงาน
:check:บริเวณรอบๆรูปทรงของผลงาน
-เพื่อให้ผลงานเด่นชัดขึ้น
-เพื่อสร้างความรู้สึกเคลื่อนไหว
:pencil2:
การจัดวางองค์ประกอบศิลป์
การกำหนดสีและค่าน้ำหนักภายในงาน
บริเวรตรงกลางมีน้ำหนักอ่อน = จุดเด่น
บริเวณซ้าย ขวา น้ำหนักเข้ม = ผลักจุดเด่น
บริเวณด้านล่าง น้ำหนักกลาง = จุดรอง
บริเวณด้านบน น้ำหนักอ่อนสุด = ระยะไกล
มีการจัดวาง
บ้าน สิ่งของต่างๆให้ทับซ้อบและยักเยื่อง เพื่อให้รุ้สึกแน่นและน่าความน่าสนใจ
มีความขัดแย้งของพื้นผิว
ของบ้านที่มี ไม้ ปูน สังกะสี สลับกันไปค่อนข้างเยอะแต่บริเวณจุดเด่นความจะมีพื้นผิวที่กลมกลืนและรู้สึกราบเรียบกว่าบริเวณอื่นเพื่อต้องการให้เด่นชัด
การแน้นและจุดเด่นในการออกแบบ
-เอกภาพ
-สมดุลย์
-การแน้นให้เด่น
-ความขัดแย้ง
-การซ้ำ
นางสาวอัญรินทร์ อัครโอฬารวัชร์