Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Internet of Things - Coggle Diagram
Internet of Things
องค์ประกอบของ IoT
-
สิ่งต่างๆ (Things) - อุปกรณ์ที่มีวิธีการในการเชื่อมต่อ (แบบใช้สายหรือแบบไร้สาย) เพื่อเข้าสู่เครือข่ายที่กว้างขวางกว่า
เครือข่าย (Networks) - คล้ายกับเราเตอร์ที่บ้านของคุณ ในเครือข่ายหรือเกตเวย์จะเชื่อมต่อสิ่งต่างๆ ไปยังระบบคลาวด์ (Cloud)
ระบบคลาวด์ (Cloud) - เซิร์ฟเวอร์ระยะไกลในศูนย์ข้อมูลที่ทำหน้าที่ในการรวมและเก็บข้อมูลของคุณเอาไว้อย่างปลอดภัย
-
สิ่งต่างๆ สร้างข้อมูล - ข้อมูลทั่วไปขนาดเล็ก (จำนวนไม่กี่ไบต์) ซึ่งแสดงข้อมูลการรับรู้ เช่น อุณหภูมิ ความชื้นหรือตำแหน่ง สิ่งนี้มักถูกเรียกว่า 'ข้อมูลขนาดเล็ก' ด้วยขนาดข้อมูลที่เล็ก
เมื่ออุปกรณ์หลายชิ้นนี้ส่ง ข้อมูลขนาดเล็กเหล่านี้ผ่านเครือข่ายไปยังระบบคลาวด์ ข้อมูลจะถูกรวมเข้าด้วยกันและมีการติดตาม ซึ่งในระยะยาวมักจะมีขนาดใหญ่ขึ้น สิ่งนี้ในบางครั้งอาจเรียกได้ว่าเป็น 'ข้อมูลขนาดใหญ่' และในจุดนี้เองที่ IoT จะมีความชาญฉลาดอย่างแท้จริง เนื่องจากข้อมูลขนาดใหญ่จะช่วยให้คุณสามารถสืบค้นจากจุดข้อมูลนับล้านเพื่อศึกษา ทำความเข้าใจหรือควบคุมบางสิ่งได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น
การใช้ การวิเคราะห์จากเซนเซอร์ จะช่วยคุณในการเชื่อมโยงเหตุการณ์เข้ากับผลลัพธ์หรือการกระทำ ตัวอย่างเช่น การที่เราทราบว่าในช่วงเย็นของฤดูใบไม้ผลิจะมืดช้าลง การใช้เซนเซอร์ตรวจจับค่าแสงในบริเวณโดยรอบกับไฟถนน เราก็จะสามารถเปิดไฟให้ช้าลงเพื่อเป็นการประหยัดพลังงาน หรือเซนเซอร์ตรวจจับว่าเครื่องจักรมีการสั่นสะเทือนมากกว่าปกติ ซึ่งอาจเป็นสัญญาณ บ่งชี้ว่าการทำงานของเครื่องจักรกำลังจะล้มเหลว ช่วยให้คุณสามารถสั่งซื้อชิ้นส่วนและกำหนด การคาดการณ์การบำรุงรักษาได้
-
มีภาษาหรือโปรโตคอลที่เกิดขึ้นใหม่จำนวนมาก ที่เหมาะกับ IoT เริ่มตั้งแต่ Wi - Fi หรือ Bluetooth ไปจนถึง LoraWAN™ และ Sigfox ที่เพิ่งได้รับการกำหนดขึ้นใหม่
-
-
การบริโภคพลังงาน (Power Consumption) – ยกตัวอย่างเช่น อุปกรณ์แบบสวมใส่ได้มีอายุการใช้งานแบตเตอรี่น้อย
-
-
-
ในการสร้าง IoT จำเป็นต้องมีเทคโนโลยีจำนวนมากเป็นองค์ประกอบ เนื่องจากสิ่งนี้เป็นสิ่งใหม่ เกินกว่าที่แต่ละองค์ประกอบจะพัฒนาถึงจุดอิ่มตัวและความคุ้มค่าด้านราคา ซึ่งเป็นอยู่ ในขณะนี้ ได้โดยง่าย
ในปัจจุบัน มีโมดูลอย่างเช่น เราเตอร์ WepTech 6LoWPAN ซึ่งจะช่วยให้คุณสามารถสร้างโซลูชันได้อย่างง่ายๆ และยังมีส่วนประกอบแยกส่วนอย่างไมโครคอนโทรลเลอร์ Silicon Labs EFM32 Pearl Gecko สำหรับใช้ในสมาร์ทโหนด IoT แม้แต่พาสซีฟและคอนเนคเตอร์ก็มีความเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ตรงกับความต้องการใหม่ๆ ที่ถูกขับเคลื่อนโดยโครงการนวัตกรรม IoT นอกจากนี้ USB-C จะช่วยให้เรามีสายเคเบิลสำหรับการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์แบบสวมใส่ได้น้อยลง รวมทั้งตัวเก็บประจุเซรามิกที่มีขนาดเพียง 0.6 มม. x 0.3 มม. จะช่วยให้อุปกรณ์ต่างๆ มีขนาดเล็กลงกว่าที่เคยเป็นมา
IoT คืออะไร?
Internet of Things (IoT) คือ "อินเตอร์เน็ตในทุกสิ่ง" หมายถึง การที่อุปกรณ์ต่างๆ สิ่งต่างๆ ได้ถูกเชื่อมโยงทุกสิ่งทุกอย่างสู่โลกอินเตอร์เน็ต ทำให้มนุษย์สามารถสั่งการควบคุมการใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่น การเปิด-ปิด อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า (การสั่งการเปิดไฟฟ้าภายในบ้านด้วยการเชื่อมต่ออุปกรณ์ควบคุม เช่น มือถือ ผ่านทางอินเตอร์เน็ต) รถยนต์ โทรศัพท์มือถือ เครื่องมือสื่อสาร เครื่องมือทางการเกษตร อาคาร บ้านเรือน เครื่องใช้ในชีวิตประจำวันต่างๆ ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
-
ข้อดี
ข้อเสีย
ปัญหาด้านการส่งข้อมูล : หัวใจหลักของแนวคิด Internet of Thing คือระบบเครือข่ายที่เป็นตัวกลางในการรับส่งข้อมูลของอุปกรณ์ต่างๆ และเครือข่ายที่สำคัญที่สุดคือ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต หมายความว่าแนวคิดนี้จะต้องพึ่งพาเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นหลัก ซึ่งถ้าหากเครือข่ายดังกล่าวไม่สามารถใช้งานได้ชั่วคราว หรือเกิดการผิดพลาดทางการส่งข้อมูล ก็จะส่งผลให้อุปกรณ์ต่างๆ ไม่สามารถทำงานได้
ปัญหาด้านความปลอดภัย : เมื่อทุกสิ่งถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน การรักษาความปลอดภัยยิ่งสามารถทำได้ยากยิ่งขึ้น เนื่องจากหากสามารถเจาะเข้าอุปกรณ์ชิ้นหนึ่งในเครือข่ายนั้นได้ ก็จะสามารถเข้าถึงอุปกรณ์ชิ้นอื่นได้ง่ายขึ้น เนื่องจากแนวความคิด Internet of Thing นั้นคือการเชื่อมต่อทุกสิ่งเข้าด้วยกัน ดังนั้นอุปกรณ์ทุกชิ้นจึงเปรียบเสมือนอยู่ในเครือข่ายข้อมูลเดียวกัน เท่ากับว่าข้อมูลทุกชนิดที่อุปกรณ์ชิ้นหนึ่งได้รับ อุปกรณ์ชิ้นอื่นก็จะได้รับด้วย เนื่องจากต้องนำไปประมวลผลเพื่อทำงานร่วมกัน ซึ่งก่อนที่แนวคิดนี้จะถูกพัฒนาขึ้นอย่างสมบูรณ์คงต้องมีการพัฒนาด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเสียก่อน
ปัญหาการประมวลผลผิดพลาด : ถึงแม้แนวคิด Internet of Thing คือต้องการให้อุปกรณ์ต่างๆ ติดต่อสื่อสารกันเอง และกระทำสิ่งต่างๆ อัตโนมัติโดยไม่ต้องรอคำสั่งของผู้ใช้ แต่อย่างไรก็ต้องป้อนข้อมูล และเขียนโปรแกรมคำสั่งเพื่อให้อุปกรณ์นั้นๆ สามารถทำงานได้ ซึ่งบางครั้งอาจจะเกิดความผิดพลาดจากการเขียนคำสั่งไม่รัดกุม หรือครอบคลุมพอแนวความคิด Internet of Thing นั้นคือการเชื่อมต่อทุกสิ่งเข้าด้วยกัน ดังนั้นหากอุปกรณ์ชิ้นหนึ่งประมวลผลผิดพลาด ก็มีแนวโน้มว่าอุปกรณ์ชิ้นอื่นจะทำงานผิดพลาดตามไปด้วย และหากเกิดข้อผิดพลาดขึ้นมาครั้งหนึ่ง ก็จะส่งผลให้หมดความน่าเชื่อถือไปทันที เพราะเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ที่ต้องทำเป็นประจำทุกวัน
-
-
-
-
-