Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 การประกันคุณภาพ และตัวชี้วัดคุณภาพบริการการพยาบาล - Coggle…
หน่วยที่ 7 การประกันคุณภาพ และตัวชี้วัดคุณภาพบริการการพยาบาล
คุณภาพการบริการ
2.ภาวะปราศจากข้อผิดพลาด (zero defect)
3.การปฏิบัติที่สอดล้องกับมาตรฐาน (standards)
1.ความพึงพอใจของผู้รับบริการ (customer satisfaction)
4.คุณภาพชีวิต (quality of life)
องค์ประกอบและตัวชี้วัดของคุณภาพ
องค์ประกอบของคุณภาพในลักษณะที่เป็นคุณสมบัติ
คุณภาพด้านเทคนิค (technical quality)
ความชํานาญที่กระทําการรักษา
ได้อย่างเหมาะสม
ความถูกต้องของการบริการหรือการรักษา
คุณภาพด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ (interpersonal หรือ functional quality)
คุณภาพในลักษณะของทฤษฎีระบบ (System theory)
กระบวนการ
ผลลัพธ์
โครงสร้าง
การประกันคุณภาพทางการพยาบาล
การประกันคุณภาพภายใน (internal quality assurance)
การตรวจสอบคุณภาพ (quality audit)
การประเมินคุณภาพ (quality assessment)
การควบคุมคุณภาพ (quality control)
การประกันคุณภาพภายนอก (external quality assurance)
การประเมินคุณภาพ
การให้การรับรอง
การตรวจสอบคุณภาพที่ผ่านกระบวนการประกันคุณภาพภายใน
การควบคุมคุณภาพบริการพยาบาล
การตรวจเนื้อเยื่อ (Tissue audit)
การทบทวนการใช้บริการ (Utilization review)
การตรวจพิสูจน์ศพ (Autopsy)
การสํารวจความพึงพอใจ (Patient satisfaction)
การตรวจสอบตามเกณฑ์ (Criteria audit)
การทบทวนการเสียชีวิตและความพิการ (Mortality and morbidity review)
การรายงานเหตุการณ์พิเศษ (Incident reporting)
การรับรองคุณวุฒิของผู้ประกอบวิชาชีพ (Professional credentialing)
หน่วยรับข้อร้องเรียน (Health Complaints Units)
การพัฒนาคุณภาพทางการพยาบาล
กิจกรรมคุณภาพการบริการ
การจัดการคุณภาพทั้งองค์การ
5) ความมุ่งมั่นของผู้นําองค์การ
6) การจัดการข้ามหน้าที่และการทํางานเป็นทีม
7) การส่งเสริมพลังอํานาจให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน
4) การมุ่งให้ความสําคัญกับผู้รับบริการ
8) การจัดการโดยอาศัยข้อเท็จจริง การใช้สถิติ และความเข้าใจต่อความแปรปรวน
3) การมุ่งให้ความสําคัญกับผู้รับบริการ
2) คุณภาพอยู่เหนือสิ่งใด
9) การเรียนรู้และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
1) การยึดมั่นในจุดมุ่งหมายขององค์การ
10) การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้จัดส่งวัตถุดิบ
กิจกรรม 5 ส
ส 3 คือ สะอาด
ส 4 คือ สุขลักษณะ
ส 2 คือ สะดวก
ส 5 คือ สร้างนิสัย
ส1 คือ สะสาง
การทําแนวทางการปฏิบัติ
กลุ่มสร้างคุณภาพงาน (Quality Control circle: Q.C.C.)
ขั้นตอนการทํากิจกรรม
D หมายถึง การลงมือปฏิบัติ (Do)
C หมายถึง การตรวจสอบผล (Check)
P หมายถึง การวางแผน (Plan)
A หมายถึง การปฏิบัติภายหลังการตรวจสอบ (Action)
ระบบ ISO 9000
Hospital Accreditation (HA)
องค์ประกอบสําคัญของกระบวนการ
(2) การที่โรงพยาบาลใช้มาตรฐานเพื่อประเมินพัฒนาตนเอง
(3) การประเมินจากภายนอกในลักษณะของกัลยาณมิตร
(1) การมีมาตรฐานโรงพยาบาลที่ใช้เป็นกติการ่วมกัน
(4) การยกย่องชื่นชมด้วยการมอบประกาศนียบัตรรับรอง
ระบบบันได 3 ขั้นสู่ HA
บันไดขั้นที่ 1
คือ การเรียนรู้จากปัญหาและเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์
บันไดขั้นที่ 2
คือ การพัฒนาในส่วนต่าง ๆ ของโรงพยาบาลอย่างเป็นระบบ
บันไดขั้นที่ 3
คือการสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรมความปลอดภัย และวัฒนธรรมการเรียนรู้
มาตรฐานการพยาบาล (Nursing standard)
หมายถึง
ข้อความที่อธิบายหรือกําหนดกิจกรรมและแนวทางในการ
ปฏิบัติงานที่จะกระทําเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการด้านสุขภาพ: