Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้าคร่ำผิดปกติ - Coggle Diagram
ภาวะน้าคร่ำผิดปกติ
น้าคร่ำมาก (Polyhydramnios)
มโนทัศน์
อุบัติการ
อุบัติการของครรภ์แฝดน้ามีแตกต่างกันมากคือ 1:60 ถึง 1:750 ของการคลอด รายที่มีน้าคร่ามากระหว่าง 2-3 ลิตร พบบ่อยกว่าน้าคร่าที่มากกว่า 3 ลิตร ครรภ์แฝดน้าพบบ่อยในหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน ครรภ์แฝด และภาวะที่ทารกในครรภ์มีความพิการของระบบประสาทส่วนกลาง และระบบทางเดินอาหาร
สาเหตุ
ทารกที่มีปัญหาในการกลืนน้าคร่า และการตีบตันของหลอดอาหาร ลำไส้เล็ก และมีความพิการ
สาเหตุที่สืบเนื่องจากมารดา พบได้ร้อยละ 20 ได้แก่ มารดาเป็นเบาหวาน เป็นต้น
ไม่ทราบสาเหตุ พบได้บ่อยร้อยละ 60 อาจเป็นความแปรปรวนของครรภ์ปกติ ส่วนมารดาอาการไม่รุนแรง
ความหมาย
น้าคร่ามากหรือครรภ์แฝดน้า (hydramnios หรือ polyhydramnios) หมายถึง ภาวะที่มีจานวนน้าคร่ามากกว่า 1,500 มิลลิลิตร หากน้าคร่าค่อย ๆ เพิ่มขึ้น เรียกว่าครรภ์แฝดน้าเรื้อรัง (Chronic hydramnios) แต่ถ้าจานวนน้าคร่าเพิ่มมากขึ้นในเวลาอันรวดเร็วภายใน 2-3 วันเรียกว่า ครรภ์แฝดน้าเฉียบพลัน (Acute hydramnios) ทั้งนี้ลักษณะของน้าคร่าจะเหมือนกับครรภ์ปกติ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ประวัติเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ อาจพบอาการหายในลาบากจากการกดของมดลูกที่ขยายออกไป แต่หญิงตั้งครรภ์จะทนได้หากน้าคร่านั้นค่อย ๆ เพิ่มขึ้น หากเป็นครรภ์แฝดน้าเฉียบพลันหญิงตั้งครรภ์มักจะทนไม่ได้ อาจนาไปสู่การคลอดก่อนกาหนด
การตรวจร่างกาย พบว่ามีมดลูกขนาดใหญ่กว่าระยะของการขาดประจาเดือน ร่วมกับการคลาหาส่วนของทารกในครรภ์ได้ยาก ฟังเสียงหัวใจทารกได้ยาก ผนังของมดลูกตึง ถ้าปริมาณน้าคร่ามากจะคลาส่วนต่าง ๆ ของทารกไม่ได้เลย
การวัดปริมาณน้าคร่าด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง วัดแบบ AFI (Amniotic Fluid Index) โดยวัดแอ่งของน้าคร่า 4 ส่วน (guardrant) ของมดลูก วัดเป็นเซนติเมตร และนามารวมกันเป็นค่า AFI ค่าที่น้อยหรือมากผิดปกติมักจะถือเอาที่ร้อยละ 5 และ 95 ของน้าคร่าแต่ละช่วงอายุครรภ์ ในทางปฏิบัติมักถือว่าเป็นครรภ์แฝดน้าเมื่อค่า AFI มากกว่า 24 เซนติเมตร
การรักษา
ในรายที่มีปัญหาจากการกดเบียดมากอาจเจาะน้าคร่าออกเป็นช่วง ๆ ครั้งละไม่ควรเกิน 1-2 ลิตร หรืออาจได้รับการรักษาโดยการให้ Indomethacin เพื่อช่วยลดปริมาณปัสสาวะของทารกและน้าคร่าได้อย่างมีนัยสาคัญ ครรภ์แฝดน้าที่ค่อยเป็นค่อยไป มักไม่มีอาการก็ไม่ต้องทาอะไร เพียงตรวจหาความผิดปกติที่อาจเกิดร่วมด้วย เช่น โรคเบาหวาน หรือทารกในครรภ์ผิดปกติ
ผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์มีไม่มาก นอกจากหายใจลาบาก ปวดท้อง หรือเคลื่อนไหวลาบาก จากการกดเบียดของมดลูกแล้วอาจเกิดอันตรายจากการเจาะน้าคร่าออกทางหน้าท้อง เช่น การเจ็บครรภ์ก่อนกาหนด สายสะดือย้อย ถุงน้าคร่าแตกก่อนกาหนด รกลอกตัวก่อนกาหนด หรือ อาจเจาะถูกรก สายสะดือ หรือทารกและติดเชื้อได้
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกอาจคลอดก่อนกาหนดจากการเจาะถุงน้า หรือพบมีความพิการร่วม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและการวางแผนการพยาบาล
ข้อวินิจฉัย 1 หายใจลาบากเนื่องจากมดลูกมีน้าคร่ามากกดเบียด
ข้อมูลสนับสนุน
1) อายุครรภ์ 28 สัปดาห์ ขนาดหน้าท้อง ¾ เหนือสะดือ
2) บ่นว่าหายใจไม่ค่อยออก ต้องนอนหนุนหมอน 2 ใบ
3) อัตราการหายใจ 28 ครั้งต่อนาที
แผนการพยาบาล
1) แนะนาให้มารดานอนในท่าศีรษะสูงหรือท่าตะแคง
2) แนะนาให้นอนพักผ่อนให้มากขึ้น
3) แนะนามาตรวจครรภ์ตามนัดสม่าเสมอ
4) ดูแลช่วยเหลือกรณีที่ได้รับการเจาะถุงน้าคร่า
ข้อวินิจฉัย 2 อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจาะถุงน้าคร่า
ข้อมูลสนับสนุน
1) ได้รับการเจาะถุงน้าคร่า
2) แพทย์ดูดน้าคร่าออกปริมาณ 2,000 ลิตร
แผนการพยาบาล
1) สังเกตการหดรัดตัวของมดลูกและแนะนาให้มารดาสังเกตด้วย
2) ใส่ผ้าอนามัยสังเกตน้าคร่ารั่วไหล หรือเลือดออกทางช่องคลอด
3) สังเกตอาการและนับจานวนลูกดิ้น
4) วัด Vital Signs
5) แนะนาให้นอนพักผ่อนภายหลังการเจาะถุงน้าคร่า
น้ำคร่ำน้อย (Oligohydramnios)
มโนทัศน์เกี่ยวกับน้าคร่าน้อย
ความหมาย
น้าคร่าน้อย หมายถึงภาวะที่มีปริมาณน้าคร่าน้อยกว่าปกติ โดยจะมีปริมาณน้าคร่า ประมาณ 100-300 มิลลิลิตร มีบางรายน้าคร่าอาจลดลงเหลือ 2-3 มิลลิลิตร
อุบัติการณ์
พบได้น้อยกว่าครรภ์แฝดน้ามาก
สาเหตุ
ทารกพิการโดยกาเนิด
การอุดตันของระบบทางเดินปัสสาวะของทารก
ภาวะไตของทารกฝ่อทั้งสองข้าง
ทารกมีความผิดปกติของโครโมโซม
รกเสื่อมสภาพ
มารดาเป็นความดันโลหิตสูง เบาหวาน หรือครรภ์เป็นพิษ
ตั้งครรภ์เกินกาหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
Twin-Twin transfusion syndrome
การรั่วของถุงน้าคร่าเป็นเวลานาน ๆ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ พบว่ามีประวัติน้าคร่ารั่วทางช่องคลอดเป็นเวลานาน มดลูกไม่ค่อยโตขึ้น
การตรวจร่างกาย ตรวจทางหน้าท้องคลาพบส่วนทารกได้ง่ายชัดเจน และมักไม่สามารกคลอนศีรษะทารกในครรภ์ได้ (ballotlement)
การเจาะถุงน้าคร่า ในขณะคลอดหากทาการเจาถุงน้าคร่าพบว่าไม่มีน้าคร่าไหลออกมา หรือออกมาเพียงเล็กน้อย อาจมีลักษณะเหนียวร่วมด้วย หรือหลังจากทารกคลอดแล้วไม่มีน้าคร่าไหลออกมาเหมือนครรภ์ปกติ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง โดยการวัดแอ่งของน้าคร่า แอ่งที่ลึกที่สุดมีขนาด 2 เซนติเมตร หรือมี AFI 5-8 เซนติเมตรหรือน้อยกว่า
การรักษา
การยุติการตั้งครรภ์ จะพิจารณาในรายที่มีความพิการของทารกรุนแรง
กรณีที่ทารกมีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR) ก็ปฏิบัติตามแนวทางการรักษาภาวะ IUGR
การติดตามตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ มักจะติดตามอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะในรายที่มีภาวะUPI
อาจให้ Selective antidiuretic agonist (1-deamino vasopressin) ขนาด 2 ไมโครกรัม ทางหลอดเลือดร่วมกับการดื่มน้ามาก ๆ (20 มิลลิลิตร/กิโลกรัม) พบว่าสามารกเพิ่ม AFI ได้
อาจให้น้าเกลือเข้าสู่โพรงน้าคร่า (Amnioinfusion) ในระยะคลอด หากมีปัญหาการกดสายสะดือ
ผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์
ภาวะน้าคร่าน้อยไม่ส่งผลกระทบใด ๆ ต่อหญิงตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
เกิดภาวะปอดแฟบ
เกิดการกดเบียดทารกในครรภ์ ทำให้เกิดความพิการสูง
ทารกขาดออกซิเจน
ทารกตายในครรภ์
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและการวางแผนการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยที่ 1 ภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์อาจไม่สมบูรณ์จากภาวะน้าคร่าน้อย
ข้อมูลสนับสนุน
ตรวจพบว่ามีน้าคร่าประมาณ 500 มิลลิลิตร
คลาพบส่วนทารกในครรภ์ชัดเจน
แผนการพยาบาล
ติดตามผลการตรวจภาวะสุขภาพทารกในครรภ์เป็นระยะ
แจ้งให้มารดาและครอบครัวทราบถึงภาวะเสี่ยงที่อาจเกิดแก่ทารกในครรภ์
ดูแลให้มารดาได้รับอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
แนะนำเรื่องการรับประทานยาต้านการขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
ข้อวินิจฉัย 2 ทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากการกดของมดลูก
ข้อมูลสนับสนุน
อัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ 170 ครั้งต่อนาที
ผลการตรวจ NST non reactive
แผนการพยาบาล
ดูแลให้มารดาได้นอนพักในท่าตะแคงซ้าย
ให้มารดาได้รับออกซิเจน 5 ลิตรต่อนาที
ดูแลให้ได้รับน้าเกลือทางหลอดเลือดดา
ในกรณีที่มีการกดทับสายสะดือดูแลให้ได้รับน้าเกลือเข้าโพรงมดลูกตามแผนการรักษา
ฟัง FHS ทุก ๆ 15 นาที
On Monitor ติดตามภาวะสุขภาพทารกในครรภ์เป็นระยะ ๆ
ข้อวินิจฉัย 3 อาจเกิดภาวะคลอดยาวนานเนื่องจากขาดน้าคร่า
ข้อมูลสนับสนุน
เวลา 08.00 น. ปากมดลูกเปิด 4 เซนติเมตร และเวลา 10.00 น ปากมดลูกเปิด 5 เซนติเมตร
ตั้งครรภ์และคลอดครั้งที่สอง
แผนการพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและการเปิดขยายของปากมดลูก
ดูแลให้ได้รับ Syntocinon ตามแผนการรักษา
กระตุ้นให้มารดาขับถ่ายปัสสาวะให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
อธิบายให้มารดาทราบถึงภาวะการคลอดยากที่อาจเกิดขึ้น
เตรียมช่วยเหลือกรณีได้รับการใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด