Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของระบบประสาท - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาของระบบประสาท
ระบบประสาท
ระบบประสาทส่วนกลาง CNS
ไขสันหลัง (Spinal cord)
เยื้อหุ้มสมองและไขสันหลัง
Dura mater
Arachnoid mater
Pia mater
ระบบประสาทส่วนปลาย
ประสาทรับความรู้สึก
ประสาทรับความรู้สึกโซมาติก
ประสาทรับความรู้สึกจากอวัยวะภายนอก
ประสาทนำคำสั่ง
ระบบประสาอัตโนวัติ
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
ระบบประสาทซิมพาเทติก
ระบบประสาทโซมาติก
Neuroglia
Ependyma
เป็น simple cuboidal epithelinpum
หน้าที่สร้างและดูดซึมน้ำหล่อเลี้ยงไขสันหลัง
Oligodendrocyte
มีขนาดปานกลาง นิวเคลียสรูปกลมเล็ก ไซโทพลาซึม ใสเห็นเป็นวงแหวนรอบนิวเคลียส
1.Astrocyte
การบาดเจ็บต่อ astrocyte
มีขนาดใหญ่ เพิ่มจำนวนมากขึ้น นิวเคลียสมีขนาดใหญ่และมีลักษณะใส
Microglia
เป็น neuroglia ที่มีขนาดเล็กที่สุด นิวเคลียสรูปกลม ติดสีเข้ม หน้าที่ กินสิ่งแปลกปลอม
โครงสร้างของเซลล์ประสาท
ตัวเซลล์ Body
ใยประสาท nerve fiber
Dentrite
axon
Aยาว ขนาดสำเสมอ ผิวเรียบ นำสัญญาณประสาท ออกจากตัวเซลล์ cell body
สั้น เรียวเล็กลง ผิกวขรุขระเป็นตุ่ม นำสัญญาณประสาท เข้าสู่ตัวเซลล์ cell body
ความผิดปกติของระบบประสาท
ความผิดปกติในการเคลื่อนไหวร่างกาย (Disorder of movement)
ความผิดปกติของ Neuromuscular junction
Cerebellum
ความผิดปกติของ Cerebellum
การเคลื่อนไหวไม่ต่อเนื่อง เช่น ทรงตัวลำบาก -Dysmeria กะระไม่ได้
ลดแรงตึงของกล้ามเนื้อซีกเดียวกับรอยโรค
กล้ามเนื้ออ่อนเเรงแบบปวกเปียก
เสียการทรงตัว ระยะเฉียบพลัน
สมองใหญ่cerebrum
การบาดเจ็บของสมองทำให้สมองใหญ่พิการแล้วยังนำไปสู่การมีปัญหาต่าง ๆ เช่น การชัก ปัญหาการเห็น การได้ยิน การสื่อความหมาย ความบกพร่องทางเชาว์ปัญญาและปัญหาทางพฤติกรรมและอารมณ์
ผิดปกที่ presynaptic
อาการแสดง
อ่อนเเรงกล้ามเนื้อคอมแขนมขา กล้ามเนื้อลูกตา
ผิดปกติที่ postsynaptic
อาการแสดง
น้ำลายมาก สิ่งคัดหลั่งในหลอดลมมาก รูม่านตาเล็กลง
การเคลื่อนไหวแบบ pyramidal tracts
พยาธิสภาพ
การเกิดพยาธิสภาพในระบบปิรามิด อาจทำให้เกิดอัมพาตแบบต่างๆขึ้นอยู่กับว่าตำแหน่งที่เกิดพยาธิสภาพนั้นเป็นส่วนใด โดยอาจมีอาการแบบไม่รุนแรง สามารถขยับร่างกายได้บ้างจนถึงการเกิดอัมพาตทั้งตัว ซึ่งสาเหตุนั้นอาจจะมาจากความผิดปกติของหลอดเลือดในสมองที่อาจเกิดการอุดตัน ทำให้เนื้อสมองขาดเลือดจนเกิดภาวะช็อคและเป็นอัมพาตได้
หน้าที่ pyramidal tracts
ควบคุมการเคลื่อนไหวในอำนาจจิตใจควบคุมการเคลื่อนไหวอย่างละเอียดของนิ้ว หากผิดปกติจะส่งผลต่อการทำงานของนิ่วมือ
ความผิดปกติ Lower Moter Neuron:LMN
การเคลื่อนไหวแบบExtrapyramidal system
อาการของ Extrapyramidal
Positive effect
เป็นระบบที่มีกลุ่มเซลล์ประสาทในก้านสมองท้ัง 2 ซีก, เปลือกสมองใหญ่, basal ganglia, red nuclei, reticular formation ใยประสาทไปยังเซลล์ประสาท LMN
Negative
กล้ามเนื้อทำงานน้อยลง อ่อนเเรง หน้าตาเฉย หายใจช้า เดินช้า เดินลำบาก กลืนลำบาก เดินสั่น ทรงตัวไม่ได้
สาเตุความผิดปกติ
Peripheral nerve disorder
เกิดจากการทำลายของ axon เยื้อหุ้ม ไมอีลิน
รากประสาทเสื่อม
เส้นประสาทอักเสบ
เส้นแระสาทเสื่อม
Anterior horn cell
Bulbar palsy
ผิดปกติ motor nucle ของเส้นประสาท CN VIii
Paralytic poliomyelitis
Viral infection ที่ Anterior horn cell
Amyotrophic lateral sclerosis
เกิดการทำลาย myelin sheath
ความผิดปกติที่ Upper Motor Neuron: UMN
สาเหตุ
: 1.Cerebrovascular disease(CVD) พบบ่อยที่สุดเกิดจากหลอดเลือด MCA
การเสื่อมของของปลอกหุ้ม Myelin sheath
อาการ
อ่อนเเรง กล้ามเนื้อหดเกรง
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้ออ่นเเรงเท่ากันทั้งสองด้าน
สาเหตุเกิดจาก
Musculae dystrophy
Polymyositis
Hypokalemia
[ความผิดปกติของความรู้สึกสติ (consciousness)
องค์ประกอบของความรู้สึกตัว
ความสามารถของสมองรับรู้ แปลผล แสดงออก
ระดับความรู้สึกตัว
การตื่นตัวเพื่อตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ
ความผิดปกติที่ส่งผลต่อการรับรู้
การทำลายสองใหญ่ทั้งสองซีก
Cerebral injury
Laceration
การฉีดขาดของสมอง
Contusion
การฟกช้ำของเนื้อสมองบรเวณชั้นนอก
Coup injury
Contrecoup
Cerebral edema
การที่มีสารน้ำสะสมในเนื้อสมอง
Vasogenic edema
Cytotoxic edema
เกิดจากการบาดเจ็บของ neuron
เกิดเมื่อ blood brain barrier เสียไปเมื่อมี vascular เพิ่มขึ้นสารน้ำเปลี่ยนจาก vascular ไปอยู่ใน intercellular
ภาวะสองเลื่อน
คือการเลื่อนของสมอง cerebellayr tonsil ลงมาอยู่ใน foremen ซึ่งเป็นภาวะคุกคามต่อชีวิตผู้ป่วย
ความผิดปกติของ Neuromuscular junction
ผิดปกติที่ presynaptic
อาการแสดง
กล้ามเนื้อทั้งตัวอัมพาต อ่อนแรง หายใจลาบากมักเป็น Upper limb>lower limb
หนังตาตก, ตากระตุก ภาพซ้อน เคี้ยวและกลืนอาหารลาบาก (มักเป็นกล้ามเนื้อใช้งานบ่อย)