Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของระบบไหลเวียนเลือด - Coggle Diagram
ความผิดปกติของระบบไหลเวียนเลือด
ภาวะความดันโลหิตสูง
Hypertension
คือภาวะที่มีความดันโลหิต systolic ความดันขณะหัวใจบีบตัว ตั้งแต่ 140 mm/Hg
พยาธิสรีรวิทยา
1.ความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ
ปัจจัยต่างๆที่ส่งผลให้เกิดความดันโลหิตสูง
Blood pressure
TPR
HR
SV
กระบวนการควบคุมความดันโลหิตในร่างกาย(สุมดุล)
ตัวรับความดันและตัวรับเคมีในหลอดเลือดแดง
การควบคุมปริมาตรสารน้ำในร่างกาย
ระบบ Renin angiotensin Aldosterone
การควบคุมตัวเองในหลอดเลือด
ความดันโลหิตสูงทุติยภูมิ
ความดันโลหิตที่มีสาเหตุของโรค ซึ่งจะเข้าไปรบกวนกลไกต่างๆทางตรงและทางอ้อม
โรคที่พบบ่อยคือ โรคไตเรื้อรัง
ปัจจัยเสี่ยง
-อายุ
-พันธุกรรม
-น้ำหนักเกินหรืออ้วน
-การสูบบุหรี่
-การดื่มแอลกอฮอล์
-วิตามินดี
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะโดยทั่วไปจะปวดศีรษะบริเวณท้ายทอย
ปวดไมเกรนปวดหัวข้างเดียว
เลือดกำเดาไหลจะเป็นอาการที่ไม่ได้พบบ่อย
อาการอื่น ๆเช่นอ่อนเพลียเหนื่อยง่าย
ภาวะแทรกซ้อน
โรคหัวใจขาดเลือด
เส้นเลือดสมองโป่งพอง
หัวใจล้มเหลว
โรคไตเสื่อม
แนวทางการรักษา
1.การรักษาโดยไม่ใช้ยา
ลดอาหารที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง
กำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ลดน้ำหนัก
เลิกสูบบุหรี่เลิกดื่มแอลกอฮอล์
โรคหลอดเลือดแดงแข็ง
พยาธิสภาพ
มีก้อนไขมัน/พลาค ( Atherome หรือ Plague ) เกิดจากการสะสมไขมันที่ผนังหลอดเลือดขั้น Intima แล้วมีแคลเซียมมาเกาะและถูกห่อหุ้มด้วยชั้นของพังผืด ( Subendothelial matrix )
Plaqueสามารถเกิดในตำแหน่งที่ผนังหลอดเลือดอ่อนแอจากการติดเชื้อหรือเป็นผลของภาวะผิดปกติทางระบบอิมมูนของผนังหลอดเลือดทำให้เกิดการสร้างโปรตีนบางชนิดขึ้นและหลั่งสารเหนี่ยวนำต่าง ๆ
กระตุ้นเม็ดเลือดขาวชนิด Monocytes และ Lymphocytes เข้ามาในผนังหลอดเลือดผ่านเข้าไปอยู่ใต้ Endothelial cell จากการที่มีเม็ดเลือดขาวเข้ามาอยู่ในบริเวณดังกล่าวทำให้เกิดการอักเสบและเป็นกลไกในการเกิดหลอดเลือดแข็งตัวตามมา
ปัจจัยเสี่ยง
1.ระดับไขมันในเลือด
2.การสูบบุหรี่
3.โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus, DM)
4.โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)
5.โรคอ้วน
6.เพศ
อาการและอาการแสดง
ที่แขนและขา
อาการปวดและชา
อาจทำให้เป็นตะคริว
มือและเท้าจะเย็น
ที่ไต
เนื้อเยื่อขาดเลือดและส่งผลต่อการทำงานของไต จะทำให้เหนื่อยง่าย เบื่ออาหารปัสสาวะผิดปกติ
ที่หัวใจ
อาการเจ็บหน้าอกเหมือนมีอะไรมากดทับ
มีอาการเจ็บร้าวมาที่คอ กระดูกกราม ไหล่ และแขน หัวใจเต้นผิดปกติคล้ายจะเป็นลมหรือหมดสติ
ที่คอและสมอง
เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ ส่งผลให้มีอาการแขนขาอ่อนแรงเฉียบพลัน วิงเวียน สับสน ปากเบี้ยว
ภาวะแทรกซ้อน
หากเกิดที่เส้นเลือดที่ใกล้หัวใจอาจเกิดโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ (CAD)
หากเกิดที่เกิดที่เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงแขนหรือขาอาจเกิดปัญหาของการไหลเวียนเลือดของแขนและขา
แนวทางการรักษา
ใช้มีด ทำบายพาส
การทำบัลลูน ใส่เสตนท์
หลอดเลือดแดงโป่งพอง
เกิดจากการขาดความยืดหยุ่นของหลอดเลือดเสียไปประกอบกับความดันในหลอดเลือดสูง ทำให้เกิดการแตกของหลอดเลือด
พยาธิสรีรวิทยา
Foam cellสร้าง Growth factors ต่าง ๆ จึงเกิดการแบ่งตัวของเซลล์กล้ามเนื้อเรียบเพิ่มขึ้น และกระตุ้นใหเซลล์กล้ามเนื้อเรียบเคลื่อนย้ายตัวเองมาอยู่ในชั้น Subendothelium ทำให้ชั้นนี้หนาตัวขึ้น เกิดผังผืดหุ้มรอบเมื่อมีปัจจัยใด ๆ ก็ตามที่ทำให้เกิดการแตกของพลาค หรือเลือดออกจะทำให้เกิดหลอดเลือดอุดตัน แล้วเกิดการโป่งพองของหลอดเลือด
สาเหตุ
หลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis) ความดันโลหิตสูง การบาดเจ็บหรืออักเสบของหลอดเลือด ทำให้ผนังของหลอดเลือดส่วนนั้น ๆ อ่อนแอเมื่อมีแรงดันในหลอดเลือดสูงจึงเกิดการโป่งพองเมื่อเกิด Aneurysms แล้วขนาดของ Aneurysms จะใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ เพราะแรงดันในหลอดเลือดที่สูง (เช่น Aortic aneurysms)
ผู้ที่มีความเสี่ยง
อายุ 50 ปีขึ้นไป ผู้ชายมากกว่าผู้หญิง ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ ภาวะจากโรคถุงลมโป่งพอง
คลำพบก้อนในช่องท้อง ปวดท้องรุนแรง
อาการ
โรคนี้ไม่แสดงอาการเบื้องต้น
ปวดรุนแรงบริเวณท้องหน้าอก กลางหลัง หรือเอว กลืนอาหารลำบาก ไอเป็นเลือด เสียงแหบ
แนวทางการรักษา
ใส่หลอดเลือดแดงเทียมเข้าไปแทนที่หลอดเลือดแดงใหญ่ที่โป่งพองในช่องอกหรือช่องท้องซึ่งเป็นทางเลือกใหม่ที่ใช้สำหรับผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการผ่าตัดใหญ่