Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 พยาธิสรีรวิทยาของระบบกระดูกและข้อต่อ - Coggle Diagram
บทที่ 5
พยาธิสรีรวิทยาของระบบกระดูกและข้อต่อ
โครงสร้างของกระดูก (structural of bone)
ไขกระดูก
กระดูกพรุน
กระดูกทึบ
ส่วนประของกระดูก
กระบวนการก่อรูปกระดูก
ระยะที่ 1 เซลล์กระดูกได้รับการกระตุ้นจากสิ่งกระตุ้นต่าง ๆ เช่น ฮอร์โมน ยา วิตามิน ทําให้เซลล์กระดูก กลายเป็น osteoclast
ระยะที่ 2 osteoclast กัดกร่อนกระดูกให้เป็นรูปโคน ข้างในเป็นโพรง
ระยะที่ 3 สร้างกระดูกใหม่โดย osteoblast การปรับแต่งกระดูกทั้งหมดใช้เวลาประมาณ4ปี4เดือนซึ่งต้องอาศยัแคลเซียมฟอสเฟตและวิตามินด
สมดุลระหว่างการสร้างและการสลายกระดูก
การสร้างกระดูกใหม่จึงเริ่มขึ้น
การสร้างกระดูกเกิดขึ้นเป็นเวลาอย่างต่อเนื่อง กระดูกใหม่ที่เกิดขึ้นจะวางตัวเป็นวงเรียงผลัดกันเป็น ชั้น ๆ ที่ด้านในของโครงกระดูกจนกว่าโครงกระดูกจะถูกเติมเต็ม การสร้างกระดูกใหม่จะหยุดเมื่อเข้าใกล้เส้น เลือดที่ไปเลี้ยงกระดูกบริเวณนั้น ทางช่อง haversian canel บริเวณส่วนที่เหลือของโครงกระดูกดั้งเดิมและ การสร้างกระดูกใหม่ในบริเวณดังกล่าวเรียกว่า “osteon”
การแลกเปลี่ยนแคลเซียมระหว่างกระดูกและของเหลวภายนอกเซลล์
กระดูกประกอบไปด้วยส่วนของแคลเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ซึ่งจะช่วยรักษาสมดุลแคลเซียมใน กระดูกให้อยู่ในสภาพสมดุลกับแคลเซียมภายนอกเซลล์ ส่วนของแคลเซียมเล็กน้อยที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ สามารถพบได้ในส่วนของแคลเซียมที่สะสมอยู่ตามเนื้อเยื่อทุกชนิดในร่างกายได้แก่ ตับและทางเดินอาหาร ส่วนมากแคลเซียมสามารถแลกเปลี่ยนได้พบภายในกระดูกปกต
การควบคุมการสร้างกระดูก
พาราไทรอยด์ฮอร์โมน (parathyroid hormone: PTH)
ฮอร์โมนแคลซิโทนิน(calcitonin)
วิตามินดี หรือ cholecalciferol
ฮอร์โมนเอสโตรเจน(estrogen)
การบาดเจ็บของกระดูกและกล้ามเนื้อ (Skeletal trauma)
1.กระดูกหกั (skeletalfracture)
กระดูกหัก (skeletal fracture) คือ ภาวะท่ีกระดูกมีการแตกหักแล้วอาจจะมีหรือไม่มีการเคลื่อนย้าย ออกจากกัน กระดูกหักเกิดเมื่อมีแรงภายนอกท่ีมีค่ามากกว่าแรงท่ีเกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อหรือแรงกดท่ี เกิดจากน้ําหนักตัวที่กระทําต่อกระดูก
การจําแนกประเภทของการหักตามสาเหตุการหัก
กระดูกหักที่เกิดจากพยาธิสภาพของกระดูก
กระดูกหักที่เกิดจากแรงภายนอกที่กระทําต่อกระดูก
กระดูกหักผ่านข้อ
พยาธิสรีรวิทยาของกระดูกบาดเจ็บ
เมื่อระดูกหัก เยื่อหุ้มกระดูกและเส้นเลือดในบริเวณกระดูกส่วนนอก ไขกระดูกและเน้ือเย่ือที่อยู่รอบ ๆ ก็จะฉีกขาดด้วย ทําให้มีเลือดออกตรงบริเวณกระดูกหักเกิดจากการฉีกขาดของเนื้อเยื่อที่บริเวณส่วนปลาย ของกระดูกที่หักและจากเนื้อเยื่อบริเวณใกล้เคียงแล้ว