Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 บทนำพยาธิวิทยาสรีรวิทยา, นางสาวชลนิภา กัมทอง รหัสนักศึกษา:634N46207…
บทที่1 บทนำพยาธิวิทยาสรีรวิทยา
พยาธิวิทยา (pathology)
การศึกษาค้นคว้าเรื่องโรค ครอบคลุมพยาธิกําเนิด หรือการเกิดโรค(pathogenesis)
ผลที่จะเกิดตามมา
การวินิจฉัยหาสาเหตุ
การพยากรณ์โรค
ความรุนแรงของโรค
พยาธิสรีรวิทยา (pathophysiology)
กระบวนการ ขั้นตอน หรือกลไกที่ทําให้เกิดความ
ผิดปกติของเซลล์ เนื้อเยื่อ หรืออวัยวะต่างๆในร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงหน้าที่จากโรคหรืออุบัติเหตุ
การทํางานที่ผิดปกติที่ทําให้เกิดโรค
อาการแสดง (signs)
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่สามารถตรวจพบได้จากการตรวจร่างกายทั่วไป
การดู คลํา เคาะ ฟัง
ตรวจสอบโดยอาศัยเครื่องมือแพทย์
อาการ (symptoms)
ความผิดปกติของร่างกายที่ผู้ป่วยเล่าให้ฟัง
ความผิดปกติของร่างกายในระดับอวัยวะและระบบซึ่งสามารถสังเกตหรือมองเห็นได้
การพยากรณ์โรค (prognosis)
การทํานายโอกาสหายการติดตามความก้าวหน้าของการรักษาโดยอาศัยข้อมูลทางสถิติ ประสบการณ์ของแพทย์
ดุลยภาพของร่างกาย (Homeostasis)
ภาวะที่ร่างกายของมนุษย์สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล
สิ่งแวดล้อมภายในร่างกาย
สิ่งแวดล้อมภายนอกร่างกาย
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย สมดุลกรดขด่าง ระดับน้ําตาลในเลือด สมดุลสารน้ําและเกลือแร่ (sodium,potassium and calcium)
กลไกควบคุมดุลยภาพของร่างกาย (Regulation of Homeostasis)
ดุลยภาพของร่างกายกับความเจ็บป่วย (Homeostasis and Illness)
ร่างกายได้รับสิ่งเร้า (stimuli) ซึ่งอาจเป็นสิ่งเร้าที่ไม่ก่อโรค (physiologic stimuli) ในภาวะปกติของร่างกาย
การเจริญเติบโตตามวัย
การเปลี่ยนแปลงของเซลล์ผนังมดลูกก่อนมีปะจําเดือน
สิ่งเร้าที่ก่อโรค(pathologic stimuli)ไม่สามารถปรับตัวได้จทําให้เซลล์ได้รับบาดเจ็บ (cell injury) เกิดการเจ็บป่วย
ไม่สุขสบาย
สมรรถภาพลดลง
ความพิการ
การตาย
ปัจจัยที่มีผลต่อการปรับตัวของร่างกายเมื่อได้รับสิ่งเร้า
ความรุนแรงของสิ่งเร้า
ระยะเวลาที่สัมผัสสิ่งเร้า
ความต่อเนื่องของภาวะสุขภาพ (Health continuum)
ภาวะสุขภาพและความเจ็บป่วยเป็นลักษณะที่มีความต่อเนื่องเป็นพลวัต
มีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ระหว่างการมีสุขภาพดีและความเจ็บป่วย
ผลกระทบของความเจ็บป่วย
ผู้ป่วยจะประสบกับการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม อารมณ์ การเปลี่ยนแปลงทางด้านภาพลักษณ์ ที่มีผลต่อวิถีชีวิต
ความวิตกกังวล (anxiety)
ความกลัว (fear)
มีพฤติกรรมถดถอยต้องการความสนใจ
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อครอบครัวของผู้ป่วย ครอบครัวของผู้ป่วยเมื่อเกิดความเจ็บป่วยบทบาทในครอบครัวอาจมีการเปลี่ยนแปลงไป
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจ็บป่วย
พันุกรรม (Genetics)
สภาวะร่างกาย (Physical condition)
อาหารและภาวะโภชนาการ (Diet and nutrition)
การได้รับพิษหรือสารพิษต่าง ๆ (Venoms and toxins)
ภาวะสุขภาพจิต (Psychological health)
ผลกระทบจากการได้รับยาหรือการรักษาทางการแพทย์ต่าง ๆ
นางสาวชลนิภา กัมทอง รหัสนักศึกษา:634N46207