Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 พยาธิสรีรวิทยาของเซลล์เจริญเติบโตผิดปกติ, นางสาวชลนิภา กัมทอง…
บทที่3 พยาธิสรีรวิทยาของเซลล์เจริญเติบโตผิดปกติ
การจำแนกชนิดของเชลส์เจริญเติบโตผิดปกติ
หากเป็นเนื้องอกชนิดธรรมดาให้เรียกลักษณะของเนื้องอกแล้วลงท้ายด้วย -oma หากเป็นเซลล์มะเร็งให้ลงท้ายว่า carcinoma
เซลล์เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue) กระดูกอ่อนไขมันเนื้องอกธรรมดาให้เรียกชนิดของเนื้องอกและลงท้ายด้าย -oma
เซลล์เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อกรณีเป็นเนื้องอกของกล้ามเนื้อเรียบเรียกว่า myoma
มะเร็งที่มีชื่อเรียกไม่ตรงตามที่กล่าวมาโดยมีมะเร็งที่ลงท้ายเป็น -oma เช่นมะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma) มะเร็งเม็ดเม็ดเลือดขาว (Leukemia)
ระบาดวิทยาของโรคมะเร็ง (cancer epidimiology)
อายุอุบัติการณ์โรคมะเร็งสูงขึ้นเมื่อมีอายุมากขึ้น
เพศโดยทั่วไปอุบัติการณ์โรคมะเร็งในผู้ชาเยอะสูงกว่าผู้หญิง
สภาวะทางภูมิศาสตร์พบในประเทศที่มีอุตสาหกรรมมากกว่าเกษตรกรรม
เชื้อชาติแต่ละเชื้อชาติจะพบอุบัติการณ์โรคมะเร็งแต่ละชนิดที่แตกต่างกัน
5.สภาพทางเศรษฐกิจความสัมพันธ์ยังไม่ชัดเจน
พยาธิกำเนิด (Pattogenesis)
การเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติทั้งในกลุ่มของเนื้องอกและมะเร็งยังไม่ทราบกลไกที่แน่ชัด แต่มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมหรือสุขนิสัยส่วนบุคคลเป็นปัจจัยเสี่ยง แบ่งเป็น 2 ประเภท
สาเหตุที่อยู่ในร่างกาย เช่น เพศ เชื้อชาติ กรรมพันธุ์เป็นต้น
สาเหตุที่อยู่ภายนอกร่างกายเช่นสาร กายภาพต่างๆ สารเคมี ฮอร์โมน สารพิษ เชื้อไวรัส เป็นต้น
ปัจจัยเสี่ยง อาหาร บุหรี่ การติดเชื้อ มลพิษจากอาชีพ แอลกอฮอล์ รังสี
เซลล์เจริญเติบโตผิดปกติ
เนื้องอก (neoplasia / Tumor)
กลุ่มเซลล์หรือเนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นใหม่พบในทุกอวัยวะของร่างกาย แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับเนื้อเยื่อปกติมีการเติบโตเร็วกว่าเนื้อเยื่อปกติ แต่ไม่มีการปรับรูปร่างหน้าที่ที่เฉพาะเจาะจง
มะเร็ง (Cancer / malignancy)
ความผิดปกติระดับพันธุ์กรรมของเซลล์ (cellular genetic aberration) ไร้การควบคุมเติบโตอย่างรวดเร็วจนเป็นก้อนลุกลามแพร่กระจายผ่านไปทางกระแสเลือดและทางเดือนน้ำเหลืองไปสู่อวัยวะอื่นๆ มะเร็งจะโตเร็วกว่าก้อนเนื้องอก
อาการและอาการแสดง
ช่วงแรกจะไม่มีอาการแสดงแต่จะมีอย่างหนึ่งตามสัญญาณอันตราย
เลือดออกหรือมีสิ่งที่ขับออกมาจากร่างกาย
ก้อนหรือตุ่มเกิดขึ้นที่ใดที่หนึ่งของร่างกาย
แผลเรื้อรังรักษาไม่หาย
กลืนอาหารลำบากหรืออาหารไม่ค่อยย่อย
กระบวนการเกิดโรค
1.ขั้นกำเนิดการที่สารพันธุกรรมของ normal cell ได้รับการกระตุ้นจากสารต่อมมะเร็งและทําปฏิกิริยาจนเกิดโดยมีประจุโดยเฉพาะประจุบวก แต่ยังไม่เกิดมะเร็ง
2.ขั้นตอนส่งเสริมได้รับภายในร่างกายเช่นฮอร์โมนเซลล์มะเร็งจะเริ่มแบ่งตัวโดยไม่มีการปรับแปลงรูปร่างให้เหมาะสมกับใจน้าที่ที่เฉพาะเจาะจง
3.ขั้นลุกลามได้รับสารกระตุ้นจากภายในและภายนอกร่างกายอย่างต่อเนื่องมีการสร้างหลอดเลือดรอบก้อนเนื้อมะเร็งกระตุ้นให้เซลล์ปกติปล่อยเอนไซม์ย่อยสลายโปรตีนทำให้ก้อนเนื้อลุกลามออกจากจุดกำเนิด
4.ขั้นแพร่กระจายการแพร่กระจายโดยตรงและการแพร่กระจายทางท่อน้ำเหลืองเป็นวิธีการแพร่กระจายของมะเร็งที่พบบ่อยที่สุด
กลไกการเกิดโรค
กลุ่มยีนควบคุม (regulatory gene)
ยีนที่ทําหน้าที่เสมือนเป็นหัวหน้าหน่วยยีนถ่ายทอดลักษณะที่อยู่ในการควบคุมภายในร่างกายประกอบด้วยยีนควบคุม 2 ชนิด
ยีนสนับสนุนการแสดงออก(promotor gene) ทําหน้าที่กระตุ้นยีนถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม(structural gene) ที่อยู่ในความควบคุมให้แสดงลักษณะนั้นออกมา
ยีนกดการแสดงออก (suppressor gene) ทําหน้าที่กดหรือปิดกั้นยีนถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม(structural gene)
กลุ่มยีนถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (structural gene)
ยีนซึ่งทําหน้าที่ถ่ายทอดลักษณะที่
เก็บไว้ในยีนออกมาเป็นโครงสร้าง
Proto-oncogene เป็นยีนปกติซึ่งทําหน้าที่ส่งเสริมให้เซลล์มีการเจริญเติบโตและปรับรูปร่างให้เหมาะสมกับหน้าที่เฉพาะเจาะจงของเซลล์ปกติคือสังเคราะห์โปรตีนเพื่อทําหน้าที่ต่าง ๆ
ยีนมะเร็ง (oncogene) เป็นยีนผิดปกติที่สามารถผลิตโปรตีนมะเร็ง (oncoprotein) ทําให้เกิดเซลล์มะเร็งตามมา
การแบ่งความรุนแรงของโรคมะเร็ง (stating)
การแบ่งตามลักษณะทางพยาธิวิทยาเป็น 4 เกรด
-grade I หรือมีการจำแนกลักษณะของเซลล์ชัดเจน
-grade II หรือมีการจำแนกลักษณะของเซลล์ได้บ้าง
-grade lII หรือมีการจำแนกลักษณะของเชลล์น้อย
-grade lV หรือไม่มีจำแนกลักษณะของเซลล์เลย
นางสาวชลนิภา กัมทอง รหัสนักศึกษา:634N46207