Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4การพยาบาลผู้ที่มีพยาธิสภาพของต่อมไร้ท่อระยะเฉียบพลันเรื้อรัง, 131I,…
บทที่4การพยาบาลผู้ที่มีพยาธิสภาพของต่อมไร้ท่อระยะเฉียบพลันเรื้อรัง
หน้าที่ของต่อมไร้ท่อ
สร้างฮอร์โมน ที่ควบคุมอารมณ์การเจริญเติบโต การเผาผลาญ
การเจริญพันธุ์
ต่อมไร้ท่อจะทําหน้าที่ควบคุมการสร้างและการปล่อยฮอร์โมน
ออกมา
ต่อมไร้ท่อจะส่งฮอรโ์มนจะไปสู่เซลล์ต่าง ๆ ของร่างกายพร้อม
กับกระแสเลือด
การพยาบาลผู็ป่วยเบาหวาน
ชนิดยาเม็ดรักษาโรคเบาหวาน
ยาเม็ดลดระดับนํ้าตาลในเลือดมี 2 ประเภท
1เสริมการออกฤทธิ์ของอินซูลิน Agents Enhancing the Effectiveness of Insulin ยาในกลุ่มนี้ไม่ทําให้เกิดภาวะนํ้าตาลในเลือดตํ่า ได้แก่
ยาเพิˠมการหลัˠงของอินซูลิน
Agents Augmentating the supply ofInsulin ยาในกลุ่มนี้เพิ่มการหลั่งของอินซูลิน ได้แก่
สําหรับผู้ปˡวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 แนะนําการใช้ยาดังนี้
1.ผู้ป่วยที่ไม่มีข้อห้ามในการใช้ยา metformin แนะให้ใช้ยา ชนิดนี้เป็นยาชนิดแรก
2.ปรับยาเพืˠอให้ได้ค่าน˺าตาลเฉลีˠยได้ตามเป้าหมายใน 3-6 เดือน หากไม่ได้เปˤาหมายและใช้ยาเต็มทีˠแล้วให้เพิ่มยาชนิดที่2
ยาชนิดทีˠ 2 ทีˠให้ใช้คือ glucagon-like peptide-1 (GLP- 1) และยารับประทานเบาหวานชนิดอื่นหากผู้ปˡวยทีˠเปˮนใหม่ และมีน˺าตาลสูงและมีอาการมากแนะนํา ให้ใช้อินซูลินในการรักษาเบื้องต้น
การพยาบาลผูู้ป่วยต่อมพาราไทรอยด์และไทรอยด์ผิดปกติ
Hyperthyroid
Hyperthyroidism
Thyroid crisis
Hypothyroid
Hypothyroidism
Critinism
Myxenema
Goiter
Ca thyroid
Grave’s disease
การรักษา Graves’s disease 1. ใช้ยาต้านไทรอยด์
Methimazole 7.5-15 mg/dประมาณ 2 ป่วย หายได้ 40%Propylthiouracil = PTU ยับยั้งการสังเคราะห์ ไทรอย
ด์ฮอร์โมน ผลข้างเคียงที่สําคัญ คือ ทําให้เม็ดเลือดขาวตํ่า
จุดประสงค์ในการรักษา
เพื่อหยุดการเจริญเติบโตของต่อมไทรอย
ด่และทําให้ยุบลง1. ถ้าโตจากการชดเชยเนื่องจากการขาด
ไอโอดีน เป็นทําให้การสร้าง thyroxin ลดลง จะให้ ไทรอยด์ฮอร์โมน หรือไอโอดีนทดแทนในรูปสารละลาย เช่น Lugol ‘s
solutionSSKI = saturated solution of
potassium iodine
ผ่าตัด ได้ผลเร็วที่สุด ระวัง Hypoparathyroidism3. 131I
(17,18,19) เพื่อลดจํานวนเลือดไปเลี้ยงต่อมไทรอยด์ก่อนการผ่าตัด 10-14 วัน และเพื่อรักษา thyroid storm
อาการและอาการแสดง
อุณหภูมิร่างกายตํ่ามีอาการทางระบบประสาท ซึม เพ้อ ชัก
แบบ Focal seizureหมดสติ
หัวใจเต้นช้า LCO ,หายใจช่าเบาตื้น , ท้องผูก ลําไส้อืดกระเพาะปัสสาวะเป็นอัมพาต
ส่งผลให้การทํางานของอวัยวะในระบบต่างๆ
ของร่างกายล้มเหลว คือ
การเผาผลาญลดลง มีการคั่งของสาร
Mucopolysacharide ทําให้เกิดการบวมของเนื้อเยื่อบวมแบบ non pitting โดยเฉพาะ รอบตา มือ
เท้า ลิ้นโตคับปาก2. การตอบสนองของการควบคุมการหายใจ
ลดลง กล้ามเนื้อหายใจบีบตัวแย่ลง มีนํ้าคั่ง3. ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นช้า
LOC, BP ตํ่าลงอาจถึง shock ได้
การทํางานของไตลดลง มีการหลั่งเพิ่ม
ของ ADH ทําให้นํ้าคั่ง เกิด Hyponatremia
การตรวจวินิจฉัย
T3,T4 ตํ่า ส่วน TSH สูง หรือไม่สูง ในรายที่ได้รับยา dopamine , corticosteroid2. ระดับนํ้าตาลในเลือดตํ่า, Na ตํ่า , เม็ดเลือดขาวตํ่า
ออกซิเจนในเลือดตํ่า
3.คาร์บอนไดออกไซด์คั่ง โคเลสเตอรอลสูง4. ซีดแบบเม็ดเลือดแดงใหญ่ Macrocytic anemia5. หัวใจโต
การพยาบาลผูู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของต่อมหมวกไต
เป็นภาวะที่ adrenal cortex ทํางานน้อยลง ทําให้มีการหลั่งmineralcorticoid, glucocorticoid และ sex hormone ลดลง ซึ่งอาจเกิดจากการฝ่อ (Idiopathic atrophy) ของ adrenal cortex จากการต้านภูมิต้านทาน (autoimmune)
การวินิจฉัย โดยตรวจ
1.การซักประวัติ
2.เก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง(24-hour urinary catecholamines and metanephrines) ซึ่งเป็นmetabolite ของ catecholamine ในพลาสมาและปัสสาวะสูงผิดปกติสารเหล่านี้ จะถูกสร้างโดยต่อมหมวกไต (adrenal glands) และถูกขับสารเหล่านี้ จะถูกสร้างโดยต่อมหมวกไต (adrenal glands) และถูกขับออกทางปัสสาวะเพื่อตรวจสอบว่า สารถูกผลิตออกมามากหรือไมกระทําได่โดยตรวจสารดังกล่าวได้จากปัสสาวะ ซึ่งเก็บใน 24 ชั่วโมง
3.Plasma metanephrines เป็นการตรวจเลือด หาสารที่ไดจากต่อมหมวกไต (adrenaline-related compounds)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของต่อมใต้สมอง
insulin แบ่งตามระยะเวลาการออกฤทธิ์เป็น 5 ประเภท
1.ออกฤทธิ์เร็ว Rapid acting หรืออินซูลินนํ้าใส
Short acting insulin ได้แก่Regular insulinActrapid -Actrapid -Humalin-R
ออกฤทธิ์ปานกลาง Intermediate-Acting Insulin
ออกฤทธิ์ระยะยาว Long-Acting Insulin insulin glargine insulin detemir
5.อินซูลินผสม Insulin Mixtures เป็นการผสมอินซูลินออกฤทธิ์เร็วกับอินซูลินออกฤทธิ์ปานกลาง
การควบคุมอาหาร
Glycemic index.
เป็นการวัดการดูดซึมของอาหารเปรียบเทียบกับอาหารมาตรฐานถ้า = 100 หมายความว่า ดูดซึมได้เท่ากับอาหาร
มาตรฐานถ้า < 100 หมายความว่า ดูดซึมได้น้อยกว่าอาหาร
มาตรฐานถ้า > 100 หมายความว่า ดูดซึมได้ดีกว่าอาหารมาตรฐาน
หมายเหตอาหารสําหรับผู้ป่วยเบาหวานควรจะมีค่าอินเด็กตํ่า
หลักการออกกำลังกาย
ตรวจร่างกายก่อนการออกกําลังกาย จากแพทย์
บอกแพทย์เกี่ยวกับชนิดของการออกกําลังกาย
ออกกําลังกายอย่างสมํ่าเสมอ เป็นเวลาเดียวกันในแต่ละวัน เริ่มทีละน้อย ไปหามากขึ้น 4. หลีกเลี่ยงการฉีดยาในบริเวณที่ออกกําลัง
กาย
5.ควรทราบฤทธิ์ของยาว่าออกฤทธิ์สูงสุดเวลา
ใด
ประโยชน์ของการออกกําลังกาย
ํทำให้การคุมเบาหวานดีขึ้นเนื่องจากมีการเพิ่มการตอบ
สนองต้ออินซูลิน [insulin sensitivity ]หลังออกกําลังกาย48 ชั่วโมงร่างกายยังไวต่อ insulin หากออกกําลังกายอย่างสมํ่าเสมอจะทําให้ร่างกายตอบ
สนอง ต่อ insulin ดีขึ้นโดยที่นํ้าหนักไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่ควรออกกําลังกายถ้านํ้าตาลตอนเ่ามากกว่า 250mg% 2. ให้กินนํ้าตาลถ้านํ้าตาลในเลือดตํ่ากว่า100mg%3. ตรวจนํ้าตาลก่อนและหกกําลังกาย
เตรียมนํ้าตาลไว้ขณะออกกําลังกาย 5. ปรับการฉีด insulin และอาหารเพื่อป้องกันภาวะนํ้าตาลตํ่า
ข้อแนะนําการออกกําลังกายกับเบาหวานชนิดที่หนึ่ง
131I