Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลวิธีทางการพยาบาลสาธารณสุข, กฎบัตรออกตาวา (Ottawa Charter Policy) -…
กลวิธีทางการพยาบาลสาธารณสุข
แนวคิดและกลวิธีการสาธารณสุขมูลฐาน
คือ ประชาชนบริการประชาชน
สาธารณสุขมูลฐาน
(Primary Health Care)
สาธารณสุขมูลฐาน (จปฐ) ร่วมมือ พึ่งตนเอง
พัฒนาแบบยั่งยืน
ขั้นที่ 6
ประเมินผล
ขั้นที่ 5
ดำเนินงานตามแผน
ขั้นที่ 4
จัดลำดับก่อน หลัง และวางแผนแก้ไข
ขั้นที่ 3
วิเคราะห์ปัญหาเพื่อกำหนดสาเหตุของปัญหา
ขั้นที่ 2
รู้ปัญหาชุมชน
เปรียบเทียบกับเกณฑ์ในแบบ จปฐ 3
ทราบตัวชี้วัดูแต่ละตัวว่าตรงตามเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่
ขั้นที่ 1
การสำรวจข้อมูล
แบบสำรวจข้อมูลครอบครัว (จปฐ 1)
แบบสำรวจข้อมูลหมู่บ้าน (จปฐ 2)
คิดคำนวณเป็นร้อยละทุกข้อ
ขั้นที่ 7
สอนหมู่บ้านอื่น ๆ
สถานะของการใช้งาน
เป็นเป้าหมาย ในระดับครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน
และระดับชาติ
เป็นกระบวนการต่อเนื่องจากการเก็บข้อมูล
เป็นการวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ และแนวทางแก้ไข
ให้รับรู้และเข้าใจตรงกัน
เป็นข้อมูล ระดับครัวเรือน ตำบล อำเภอ จังหวัด
และระดับชาติ
เป็นตัวชี้วัด คุณภาพชีวิตที่จะต้องพัฒนาให้ถึงเกณฑ์
(อสม)
ช่วยเหลือรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ติดตามการรักษาและจ่ายยา
เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ประชาชน
ประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุขกับประชาชน
เป็นแกนกลางประสานงานในการดำเนินงานสาธารณสุขของหมู่บ้าน
แจ้งข่าวสารสาธารณสุขและเผยแพร่ความรู้ แก่ประชาชน
วิวัฒนาการของการสาธารณสุขมูลฐาน
แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 4
(พ.ศ 2520-2524)
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม)
ผู้สื่อข่าวสาธารณสุข (ผสส)
เริ่มต้นพัฒนา 3 ก ได้แก่ กำลังคน กองทุน การบริหารจัดการ
การดำเนินงาน
แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 5
(พ.ศ 2525-2529)
กำหนดดัชนีชี้วัดความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ)
กิจกรรมที่จำเป็นในการสาธารณสุขมูลฐาน
4.การเฝ้าระวังโรคประจำถิ่น
5.งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
7.การจัดหาน้ำสะอาดและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
6.งานจัดหายาที่จำเป็นไว้ใช้ในชุมชน
1.งานโภชนาการ
8.การอนามัยแม่เละเด็ก และการวางแผนครอบครัว
14.งานสุขภาพจิต
13.งานทันตสาธารณสุข
12.งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
11.การคุ้มครองผู้บริโภค
10.การป้องกันอุบัติเหตุและฟื้นฟูสภาพคนพิการ
9.งานป้องกันและควบคุมโรคเอดส์
งานสุขศึกษา
การจัดหาน้ำสะอาด/สุขาภิบาล
กลวิธีในการดำเนินการสาธารณสุข
2.การใช้เทคโนโลยี
ที่เหมาะสม
เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่เดิมในชุมชน หรือได้เรียนรู้เพิ่มเติม
จากชุมชนหนึ่งไปสู่อีกชุมชนหนึ่ง
การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีระหว่างหมู่บ้าน
(Technical Cooperation Developing Villages / TCDV )
3.การปรับระบบบริการพื้นฐานของรัฐเพื่อรองรับการสาธารณสุขมูลฐาน (Reoriented Basic Health Services / BHS)
การกระจายบริการให้ทั่วถึงครอบคลุม
การกระจายทรัพยากรสู่มวลชน
การจัดระบบส่งต่อผู้ป่วย
1.การมีส่วนร่วมของชุมชน
ให้ประชาชนในหมู่บ้านรู้สึกเป็นเจ้าของ
ประชาชนในชุมชนเป็นผู้ตระหนักถึงปัญหา
การผสมผสานกับงานของกระทรวงอื่นๆ
(Intersectoral Collaboration / IC )
ปรัชญา 4 ประการ
คนเป็นศูนย์กลาง
พัฒนายั่งยืน
ความเสมอภาค
ประสิทธิผลคุ้มค่า
เครื่องชี้วัดสุขภาพดีถ้วนหน้า
ของสาธารณสุข
การพึ่งตนเอง
การเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข
ของประเทศไทย
การพึ่งตนเอง
การเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข
การบรรลุ จปฐ
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การพัฒนาศักยภาพของชุมชน คือ การเพิ่มพูนความสามารถที่มีอยู่ของชุมชน ที่ยังไม่ได้รับการพัฒนาหรือยังได้รับการพัฒนาไม่เต็มที่
แนวคิดการพัฒนาศักยภาพ
และความร่วมมือของชุมชน
ประโยชน์
เกิดการระดมทรัพยากร ทุนทางสังคม บุคคล วัตถุ และความดีงามที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดการพัฒนาสูงสุด
ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี
การแก้ปัญหายั่งยืน
ประชาชน ชุมชน ตระหนักในปัญหาและความสามารถในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของตนเอง
สร้างเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
ประชาสังคม
โดยการแก้ปัญหาร่วมกัน
ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
สร้างเครือข่ายความร่วมมือ
มีการติดต่อสื่อสารกันอย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบ
โครงสร้างองค์กรประชาสังคม
เครือข่ายประชาสังคม
จิตสำนึกประชาสังคม
ทุนทางสังคม
ทุนที่เป็นสถาบัน เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา
ทุนทางปัญญาและวัฒนธรรม
ครอบคลุมถึงระบบคุณค่า คุณธรรม วินัย จิตสำนึก
ทุนมนุษย์ ที่มีคุณภาพ มีความรู้ สติปัญญาและทักษะ คุณธรรม
ความมีวินัย และความรับผิดชอบ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
เครือข่าย เพื่อช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ลดการทำงานและการใช้ทรัพยากรที่ซ้ำซ้อน ช่วยเชื่อมหน่วยงานวิชาการ ทำให้คน องค์กรได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกัน
การสร้างเสริมพลังอำนาจ สนับสนุนให้ประชาชน กลุ่มเป้าหมาย เกิดความตระหนักในศักยภาพที่ตนเองมี และดึงออกมาใช้ได้อย่างเต็มที่
หุ้นส่วนสุขภาพ
โครงสร้างของหุ้นส่วน
ร่วมค้นหาปัญหาสุขภาพ ระบุปัญหาสุขภาพที่แท้จริงของตนได้
พยาบาลร่วมให้ความรู้ภายใต้บทบาท ผู้ให้ความรู้ (Health educator)
ผู้เอื้ออำนวยการ (Facilitator) ผู้ช่วยเหลือ (Helper)
กระบวนการของหุ้นส่วน
ร่วมกันใช้อำนาจ การเจรจา เพื่อดึงเอาความต้องการ ความคาดหวัง
ของปัญหา สร้างความเห็นร่วมกัน และเจรจาเพื่อให้เกิดแผนการดำเนินงานที่สร้างความพึงพอใจร่วมกันทั้งสองฝ่าย
กฎบัตรออกตาวา (Ottawa Charter Policy)
การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
”เศรษฐกิจพอเพียง”
การส่งเสริมพัฒนาทักษะส่วนบุคคล
(ขยายโอกาสทางการศึกษา)
การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
(เมืองไทยน่าอยู่)
การปรับเปลี่ยนระบบบริการสาธารณสุข
สร้างนำซ่อม (3 อ. ออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์)
นโยบายสาธรณะเพื่อสุขภาพ
รณรงค์ไม่สูบบุหรี่ ลดการดื่มสุรา