Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 กระบวนการทางจิต - Coggle Diagram
บทที่ 4
กระบวนการทางจิต
การรับความรู้สึก และการรับรู้
เทรชโฮลด์
เทรชโฮลด์ความสมบูรณ์
เทรชโฮลด์ความแตกต่าง
การรับความรู้สึก
ทฤษฎีรับความรู้สึก
ประเภทการรับความรู้สึก
การมองเห็น
การได้ยิน
การได้กลิ่นและรับรส
ความรู้สึกทางผิวหนัง
ความรู้สึกของร่างกาย
การรับรู้
ความหมาย
กระบวนการเลือกจัดการระบบข้อมูล
และการแปลข้อมูลประสาทสัมผัสไปแสดงข้อมูลทางจิต
องค์ประกอบของการรับรู้
การเลือกใส่ใจ
ความเคยชิน
คุณสมบัติของสิ่งเร้า
ประสิทธิภาพของการรับสัมผัส
สภาวะของบุคคลในขณะนั้น
การแปลความหมายของการรับรู้
การกำหนดการรับรู้
แรงจูงใจของบุคคล
การปรับตัวต่อการรับรู้
กรอบการอ้างอิงของบุคคล
บริบทแวดล้อม
รูปแบบการรับรู้
ภาพและพื้น
ความใกล้ชิด
การประสานกันสนิด
ความต่อเนื่อง
ความคล้ายกัน
ความคงที่ในการรับรู้
ความคงที่ของขนาด
ความคงที่ของสี
ความคงที่ของแสง
ความคงที่ของรูปร่าง
การรับรู้ความลึก และระยะทางไกล
ตัวชี้แนะรับรู้ด้วยตา 2ข้าง
ตัวชี้แนะการรับรู้ด้วยตา 1 ข้าง
ขนาด
การเหลื่อมกัน
แสง และเงา
การเคลื่อนไหว
เส้นทางบรรจบ
บรรยากาศ
พื้นผิว
ความสูง
การรับรู้การเคลื่อนไหว
ภาพลวงตา
การรับรู้ความลึกเกิดขึ้นจากการเรียนรู้
หรือเกิดจากสัญชาตญาณ
การรับรู้ประสาทสัมผัสพิเศษ
โทรจิต
ประสาททิพย์
การรู้ล่วงหน้า
การใช้พลังจิต
สภาวะจิตรู้สำนึก
ความหมาย
การตระหนักรู้ถึงประสาทสัมผัส ความคิด และความรู้สึก
การเปลี่ยนแปลงสภาวะจิตรู้สำนึก
ความฝัน
ฝึกจิต
ธรรมชาติของจิตรู้สำนึก
จิตสำนึกทำให้บุคคลควบคุมตัวเอง และสิ่งแวดล้อม
ควบคุมการคิด และพฤติกรรมบุคคล
การฝันกลางวัน
นาฬิกาชีวิต
การนอนหลับ และทฤษฎีการนอนหลับ
ความฝัน
การสะกดจิต
การฝึกสมาธิ
การใช้สารเสพติด
การเรียนรู้
ความหมาย
กระบวนการที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยแปลงพฤติกรรม
แนวทัศน์ทางด้านการเรียนรู้
พฤติกรรมนิยม
การเรียนรู้การคิด
ระบบความจำ
ความคิด
และเชาว์ปัญญา
อารมณ์และแรงจูงใจ