Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการการศึกษา - Coggle Diagram
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการการศึกษา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
มาตรา ๕๕
รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา 12 ปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
ส่งเสริมให้มีกkรเรียนรู้ตลอดชีวิต
จัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ
สนับสนุนให้การจัดกำรศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล
มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชำญได้ ตามความถนัดของ ตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ 2547
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาพ. ศ. 2547
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาฉบับที่ 3 พ.ศ 2553
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาฉบับที่๒ พ.ศ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษามีหน้าที่ควบคุมดูแลการบริหารงานบุคคลพิจารณาเสนอความดีความชอบส่งเสริมการพัฒนาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจัดทำมาตรฐานภาระงานประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน
คณะกรรมการสถานศึกษามีหน้าที่กำกับดูแลการบริหารงานบุคคลเสนอตามความต้องการจำนวนและอัตรากำลังให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการพศ 2546 ฉบับที่ 3 พศ 2560
มาตรา 10 แบ่งส่วนราชการในส่วนกลางให้มีหน้าที่ส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
รูปแบบการจัดการศึกษาของไทย
การศึกษานอกระบบเป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมายรูปแบบวิธีการจัดการศึกษาระยะเวลาของการศึกษาการวัดและการประเมินผล
การศึกษาตามอัธยาศัยเป็นการศึกษาที่เน้นผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพความพร้อมและโอกาสโดยศึกษาจากประสบการณ์บุคคลอื่น สังคมสื่อ แหล่งความรู้อื่นๆ
การศึกษาในระบบเป็นการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมายวิธีการศึกษาสู้ระยะเวลาของการศึกษาการวัดและการประเมินผลซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
มาตรา 54 กำหนดไว้ว่ารัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา 12 ปีตั้งแต่ก่อนวัยจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆรวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตและจัดให้มีการร่วมมือกับระหว่างรัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
หมวด ๕ การบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรา ๓๖ ให้สถานศึกษาของรัฐจัดการศึกษา
ระดับปริญญาตรีเป็นนิติบุคคลให้สถานศึกษา
ดำเนินการโดยอิสระ พัฒนาระบบ และการจัดการของ
ตนเอง มีเสรีภาพทางวิชาการและอยู่ภายใต้การบังคับดูแลของสถานศึกษา
มาตรา ๔๑ องคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่นมีสิทธิ
จัดการศึกษาในระดับใดระดับหนึ่งหรือทุกระดับตาม
ความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการภายใน
มาตรา ๔๓ การบริหารและการจัดการศึกษา
เอกชนให้มีความเป็นอิสระโดยมีการติดตาม การ
ประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ
มาตรา ๔๒ ใหก้ระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์
และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมีหน้าที่ประสานส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถจัดการศึกษาได้
มาตรา ๔๔ มีคณะกรรมการบริหาร
ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน ผู้รับ
ใบอนุญาต ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนองค์กรชุมชน
ผู้แทนครู ผู้แทนศิษยเ์ก่าและผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา ๔๖ รัฐต้องให้การสนับสนุนด้านเงิน
อุดหนุน การลดหย่อนหรือการยกเวน้ภาษีตามความ
เหมาะสมและสนับสนุนด้านวิชาการให้มีมาตรฐาน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕
หมวด ๕ การบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรา ๓๓ สภาการศึกษา มีหน้าที่ พิจารณา
เสนอแผนการศึกษาแห่งชาตที่บูรณาการศาสนา ศิลปะวฒันธรรม และกฬีากบัการศึกษาทุกระดบัและพิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาต่อคณะรัฐมนตรีและด าเนินการประเมินผลการจัดการศึกษา
มาตรา ๓๙ ให้กระทรวงกระจายอำนาจการ
บริหารและการจดัการศึกษา
ไปยังคณะกรรมการ และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง
มาตรา ๔๐ ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน เพื่อทำหน้าที่กำกับและส่งเสริมสนับสนุน
กิจการของสถานศึกษา
มาตรา ๔๕ ให้สถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษา
ไดทุ้กระดับและทุกประเภทการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓
หมวด ๕ การบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรา ๓๗ การบริหารและการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดยคํานึงถึงระดับ
ของการศึกษาขั้นพื้นฐานและความเหมาะสมด้านอื่นด้วย
เว้นแต่การจัดการศึกษาการอาชีวศึกษา
มาตรา ๓๘ เขตพ้ืนที่การศึกษา มีอา นาจหน้าที่
ในการกำกับดูแลจะต้องยุบรวม หรือเลิกสถานศึกษา
ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนสถานศึกษาเอกชน
และองคก์รปกครองส่วนท้องถิ่นให้จัดการศึกษา
สอดคลอ้งกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
แก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒
มาตราที่ 31 กระทรวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและกำกับดูแลการศึกษาทุกระดับทุกประเภทและอาชีวศึกษาแต่ไม่รวมอุดมศึกษา
มาตรา 32 การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงได้แก่สภาการศึกษาคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการอาชีวศึกษา
มาตรา 34 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนามาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาคณะกรรมการอาชีวศึกษามีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนามาตรฐานและหลักสูตรอาชีวศึกษาทุกระดับ
มาตรฐาน 35 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนามาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา เล่นเพลงการศึกษารวมถึงการติดตามตรวจสอบประเมินผล คณะกรรมการอาชีวศึกษามีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนามาตรฐานและหลักสูตรอาชีวศึกษาทุกระดับรวมถึงการติดตามตรวจสอบและประเมินผล
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการพศ 2546
มาตรา 6 ให้จัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ
๑.ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
๒.ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
๓.ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐ