Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรม - Coggle Diagram
บทที่ 2
การพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรม
ความหมาย
การพยาบาลศัลยกรรม หมายถึง การดูแลผู้ปุวยที่ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด
2.1 การเตรียมด้านจิตใจ
พยาบาลควรได้มีโอกาสในการเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดนานพอจึงจะทราบความคิด ทัศนคติ ความกังวลใจ
ผู้ป่วยบางคนอาจวิตกกังวลเกินความเป็นจริง พยาบาลมีบทบาทหน้าที่ในการอธิบาย ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเพียงพอ
2.2 การเตรียมด้านร่างกาย
2.2.1 ระบบหัวใจและหลอดเลือด
2.2.2 ระบบทางเดินหายใจ
2.2.3 ระบบทางเดินปัสสาวะ
2.2.4 ความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับน้ำและอาหารที่พอเหมาะ
2.2.5 ภาวะสารน้ำและอิเลคโตรลัยด์
2.2.6 การพักผ่อนและการออกกำลังกาย
2.2.7 คำแนะนำและข้อมูลต่างๆที่ผู้ป่วยควรทราบ
การเตรียมผู้ป่วยในวันก่อนผ่าตัด และวันที่จะผ่าตัด
อาหารและน้ำดื่ม
การขับถ่าย
การเตรียมเฉพาะที่
การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
การให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัดพยาบาลต้องตรวจสอบประวัติการได้รับยาอาจเป็นยารักษาโรคประจำตัวของผู้ป่วย
เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆที่จำเป็น ในกรณีที่ต้องใช้เครื่องมือเครื่องใช้อื่นๆ เช่น สายใส่จมูกถึงกระเพาะอาหาร ชุดให้น้ำเกลือ
แผ่นบันทึกรายการต่างๆ การบันทึกในรายงานต่างๆ เช่น เวลาที่ผู้ปุวยถ่ายปัสสาวะ ประวัติการแพ้ยา แพ้อาหาร
การส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด
การดูแลครอบครัวผู้ป่วย พยาบาลจะต้องแจ้งให้ญาติทราบถึงเวลาที่ใช้ในการผ่าตัด
การเตรียมผ่าตัดในรายฉุกเฉิน
ในรายที่จะต้องผ่าตัดฉุกเฉินพยาบาลจะมีเวลาจำกัดในการเตรียมผู้ป่วย หากผู้ปุวยตกเลือดอย่างรุนแรง หรือช็อค
จะต้องเจาะเลือดตรวจดูความสมบูรณ์ ความเข้มข้นของเลือด หมู่เลือด และต้องให้สารน้ำทดแทนทางหลอดเลือดดำ
การเตรียมบนหอผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยไปห้องผ่าตัดแล้ว
เตรียมตำแหน่งเตียงให้อยู่ในที่ที่เหมาะสม
เตรียมเตียง
เตรียมเครื่องใช้ต่างๆที่จำเป็นเครื่องช่วยหายใจ
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในกรณีฉุกเฉิน เช่น ยาฉุกเฉิน
การพยาบาลระยะผ่าตัด
3.1. ยาระงับความรู้สึก
3.3 การจัดท่านอน
ท่านอนหงาย (supine Position)
ท่าศีรษะต่ำปลายเท้าสูง (trendelenburg position)
ท่าศีรษะสูงปลายเท้าต่ำ (reverse trendelenburg position)
ท่าขึ้นขาหยั่ง (lithotomy position)
ท่านอนกึ่งนั่ง (semi-fowler’s position)
ท่านอนคว่ำ (Prone position)
ท่านั่ง (sitting position)
Jack-Knife position (Krase)
ท่านอนโก้งโค้ง (Knee-chest position )
ท่านอนตะแคงเข่าชิดอก (sim’s position)
ท่าส าหรับผ่าตัดไต (Kidney position)
ท่านอนตะแคง (lateral position)
3 การพยาบาลระยะหลังผ่าตัด
3.1 การดูแลหลังผ่าตัดระยะ 24 ชั่วโมงแรก
3.2 การดูแลหลังผ่าตัดระยะหลังโดยทั่วไป
ปัญหาทางการพยาบาลที่พบบ่อยในผู้ป่วยหลังผ่าตัด
ปัญหาที่ 1 ระบบทางเดินหายใจ
ปัญหาที่ 2 ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ปัญหาที่ 6 ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัญหาที่ 3 ระบบประสาท
ปัญหาที่ 7 ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการอักเสบติดเชื้อที่แผลผ่าตัดเนื่องจากผิวหนังถูกทำลาย
ปัญหาที่ 4 ความสมดุลของสารน้ำและอิเลคโตรลัยด์
ปัญหาที่ 8 ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัด/และการสอดใส่ท่อช่วยหายใจทางปาก
ปัญหาที่ 5 ระบบทางเดินอาหาร
ปัญหาที่ 9 มีโอกาสเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำ