Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรม - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรม
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด
การเตรียมด้านจิตใจ
การเตรียมด้านร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินปสั สาวะ
ความสมบรูณ์ของร่างกายในการได้รับน้าและอาหารที่พอเหมาะ
ภาวะสารน้าและอิเลคโตรลัยด์
การพักผ่อนและการออกกาลังกาย
คาแนะนาและข้อมูลต่างๆท่ีผู้ปุวยควรทราบ
การเตรียมผู้ป่วยในวันก่อนผ่าตัด และวันที่จะผ่าตัด
อาหารและน้าดื่ม
การขับถ่าย
การเตรียมเฉพาะท่ี
การพยาบาลระยะผ่าตัด
ยาระงับความรู้สึก
การจัดท่านอน
ท่านอนหงาย (supine Position)
ท่าศีรษะต่าปลายเท้าสูง (trendelenburg position)
ท่าศีรษะสูงปลายเท้าต่า (reverse trendelenburg position)
ท่านอนกึ่งนั่ง (semi-fowler’s position)
ท่านั่ง (sitting position)
ท่าข้ึนขาหยั่ง(lithotomyposition)
ท่านอนคว่ำ(Prone position)
Jack-Knifeposition(Krase)
ท่านอนโก้งโค้ง (Knee-chest position )
ท่านอนตะแคงเข่าชิดอก (sim’s position)
ท่าสำหรับผ่าตัดไต (Kidney position)
ท่านอนตะแคง (lateral position)
การพยาบาลระยะหลังผ่าตัด
การดูแลหลังผ่าตัดระยะ24ชั่วโมงแรก
การดูแลหลังผ่าตัดระยะหลังโดยทั่วไป
ปัญหาทางการพยาบาลที่พบบ่อยในผู้ป่วยหลังผ่าตัด
ปัญหาที่ 1 ระบบทางเดินหายใจ
การลดต่าของออกซิเจนในปอดจากการมี diffusion hypoxia
มีการอุดก้ันของทางเดินหายใจ
การหายใจไม่เพียงพอแม้ไมม่ีการอุดกั้นในทางเดินหายใจ
ฤทธิ์ของยาต่างๆ
ผ้าปิดแผลรัดแน่นบริเวณช่องท้องและทรวงอกมากเกินไป ทำให้ปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่
ความเจ็บปวดที่เกดิเนื่องจากแผลผ่าตัดทำให้ผู้ป่วยไม่กล้าหายใจเข้า-ออก ลึกๆ
ผู้ปุวยต้องการออกซิเจนมากขึ้นจากอาการหนาวสั่น
การประเมินทางการพยาบาล
ประเมินความแรงของการหายใจ
สังเกตการเคลื่อนไหวของผนังทรวงอกว่ามีการขยายเท่ากันท้ังสองข้างหรือไม่
ฟังเสียงการหายใจว่าลดลงหรือเงียบหายไปหรือไม่ หรือมเสียงดังผิดปกติ
การพยาบาล
จัดท่านอนท่ีเหมาะสมกับผู้ปุวยตามระดบัความรู้สึกตัว
บันทึกอัตราการหายใจทุก 15 นาที จนกว่าอาการจะคงที่
สังเกตอาการ และอาการแสดงที่บ่งบอกว่าผู้ปุวยขาดออกซิเจน
เพื่อป้องกันการอุดกั้นของทางเดินหายใจในผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
ควรกระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจลึกๆ และพยายามไอเอาเสมหะออก
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนทุกรายภายหลังการผ่าตัดที่ได้ร้บยาระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย
ดูแลด้านความเจบ็ปวดควรให้ยาบรรเทาปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ปัญหาที่ 2 ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การประเมินทางการพยาบาล
Pulse < 60 หรือ > 120 คร้ัง/นาที
ชีพจรและความดันโลหิต แตกต่างจากการบันทึกครั้งก่อนอย่างชัดเจนประมาณ 20% ของค่าปกต
ชีพจรและความดันโลหิตลดลงทุกคร้ังที่ทาการวัดและบันทึก
จังหวะการเต้นของหัวใจไม่สม่าเสมอ
Systolic Blood pressure < 90 หรือ > 160 mmHg.
การพยาบาล
ดูแลอย่างใกล้ชิดวัดสัญญาณชีพและบันทึกอย่างเคร่งครัด
ดูแลให้ได้รับสารนา้ ทดแทนให้เพียงพอตามแผนการรักษาให้ถูกต้อง
บันทึกและสังเกตอาการที่บ่งบอกว่าได้รับสารน้าเกินความต้องการของร่างกาย
บันทึกจานวนปัสสาวะ อาเจียน สง่ิ ขับหลั่งจากการระบายที่ออกมาอย่างถูกต้อง
การเตรียมผ่าตัดในรายฉุกเฉิน
ในรายท่ีจะต้องผ่าตัดฉุกเฉินพยาบาลจะมีเวลาจากัดในการเตรียมผู้ป่วย
การเตรียมบนหอผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยไปห้องผ่าตัดแล้ว
เตรียมตำแหน่งเตียงให้อยู่ในที่ที่เหมาะสม
เตรียมเตียง ปูเตียงแบบอีเธอร์ เปลี่ยนผ้าปู ปลอกหมอน ปูผ้าขวางเตียงตรงตาแหน่งที่ทำผ่าตัด
เตรียมเครื่องใช้ต่างๆที่จาเป็นเครื่องช่วยหายใจ เสาแขวนน้ำเกลือ เครื่องดูดเสมหะ อุปกรณ์ให้ออกซิเจน
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในกรณีฉกุเฉินเช่นยาฉุกเฉิน