Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดการพยาบาลชุมชน (Concept of Community) - Coggle Diagram
แนวคิดการพยาบาลชุมชน
(Concept of Community)
ลักษณะสำคัญของการพยาบาลชุมชน
เน้นประชากรเป็นฐาน
เน้นการป้องกัน และการสร้างเสริมสุขภาพ
ผสมผสานศาสตร์
สาธารณสุข
การพยาบาล
ส่งเสริมให้บุคคลเกิดความรับผิดชอบต่อตนเอง
ใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
แนวคิดที่เกี่ยวข้อง
มองชุมชนอย่างเป็นระบบ
มองครอบครัวในฐานะผู้ใช้บริการ
มองชุมชนในฐานะผู้ใช้บริการ
เน้นปฏิสัมพันธ์
และส่งผลต่อกันของระบบย่อย
ครอบครัว
เศรษฐกิจ
สุขภาพ
การศึกษา
สถาบันศาสนา
สร้างเสริมสุขภาพ
ช่วยให้สุขภาพชุมชนบรรลุสุขภาพดีสูงสุด
ให้ความรู้กับผู้ใช้บริการตามความต้องการด้านสุขภาพ
สร้างเสริมและปกป้องสุขภาพ
เน้นกระบวนการพัฒนาสมรรถนะของบุคคลในการพัฒนาสุขภาพตนเองให้ดีขึ้น
บทบาทของบุคลากรทางสาธารณสุข
เสริมสร้างความสามารถ (Enable)
เป็นสื่อกลาง (Mediate)
รณรงค์ผลักดันสังคม (Advocate)
เป้าหมาย
มิติกลุ่มเป้าหมาย (Population Group)
มิติกลุ่มหรือพื้นที่เป้าหมาย (Key Setting)
มิติพัฒนาสุขภาพ (Health Enhancement)
มิติกลยุทธ์ (Strategies)
สุขภาพชุมชน
สอดคล้องวิถีการดำเนินชีวิตของชุมชน
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
มิติด้านร่างกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ
ภาวะสุขความต้องการด้านสุขภาพ
แนวคิดสำคัญ
สุขภาพ คือ ภาวะที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ
ชุมชน คือ ที่รวมของทุกอย่างที่เกิดจากการปฏิสัมพันธ์
ของบุคคล
ระบบสุขภาพ คือ ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวล
ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
การสาธารณสุข คือ
วิทยาศาสตร์และศิลปะแห่งการป้องกันโรค
วินสโลว์ บิดาแห่งการสาธารณสุข
กิจกรรมของสาธารณสุข
การอนามัยสิ่งแวดล้อม
การควบคุมโรคติดต่อ
การให้การศึกษาด้านอนามัยส่วนบุคคลแก่ประชาชน
การให้บริการทางการรักษาพยาบาล วินิจฉัยและรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกได้
พัฒนากลไกทางสังคม เพื่อมาตรฐานการครองชีพเพื่อคงไว้เพื่อสุขภาพ
วิวัฒนาการของการพยาบาลชุมชนเชื่อมโยงการพยาบาลทั่วไป
ค.ศ. 1912 สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งองค์กรพยาบาลสาธารณสุขแห่งชาติ (NOPHN)
ระยะแรก
(พ.ศ. 2400-2484)
สร้างโรงพยาบาลศิริราช โรงเรียนแพทย์ โรงเรียนผดุงครรภ์ โรงเรียนพยาบาล
ของสภากาชาดไทย โรงเรียนผดุงครรภ์
และอนามัยแมคคอร์มิค พ.ศ. 2466
ระยะเริ่มต้นของการสาธารณสุขสมัยใหม่
เน้นการพัฒนาด้านการแพทย์
ลิเลียน วอลด์ (Lilian Wald) ค.ศ. 1893
ก่อตั้ง Henry Street Settlement ให้บริการแก่นักเรียนและครอบครัวในแหล่งเสื่อมโทรมของนครนิวยอร์ก
ระยะสอง
(พ.ศ. 2485-2499)
การสาธารณสุขของประเทศขยายตัวอย่างรวดเร็ว
กระทรวงสาธารณสุข เกิดขึ้นในปี 2485
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้รับความร่วมมือกับ WHO และองค์กรสงเคราะห์เด็กแห่งสหประชาชาติ
มีพยาบาลประจำสถานีอนามัยในชนบท
ระยะสาม
(พ.ศ. 2500- ปัจจุบัน)
เน้นงานวางแผนอนามัยครอบครัว (ปี 2513)
เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน เน้นการดูแลชุมชนมากขึ้น
บทบาทหน้าที่พยาบาลอนามัยชุมชน
ในระบบสุขภาพสมัยใหม่
บริการด้านการป้องกัน ส่งเสริม ฟื้นฟู
มีการบริการตามบ้าน บริการในชุมชน
ระดับปฐมภูมิ
(Primary care unit ) PCU
ให้การบริการแบบ
ใกล้บ้าน ใกล้ใจ
ให้บริการเชิงรุก
ลักษณะการปฏิบัติงาน
เน้นส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคมากกว่ารักษา
(Orientation to health)
เน้นสุขของกลุ่มประชากรมากกว่าบุคคลหรือครอบครัว (Population focus)
ให้ความสำคัญกับปัญหากับคนส่วนใหญ่ และกลุ่มเสี่ยงก่อน มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการเกิดโรคมากกว่าการตามแก้ไขปัญหา
พยาบาลกับผู้รับบริการตัดสินใจเพื่อ
การดูแลสุขภาพ (Autonomy)
สร้างความเข้มแข็งและความร่วมมือของชุมชน
ให้บริการแบบต่อเนื่อง ครบถ้วน เพื่อแก้ปัญหาในระยะสั้น ๆ เพื่อให้เกิดการดูแลระยะยาว (Continuity)
หน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน
ด้านการป้องกันโรค
และปัญหาสุขภาพ
การป้องกันเฉพาะโรค
การป้องกันโรคทั่วไป
บริการสุขศึกษาให้ความรู้แก่ประชาชน
ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ประชาชนทุกกลุ่มอายุ
ส่งเสริมด้านโภชนาการ สุขภาพจิต
ส่งเสริมพัฒนาการ
ด้านการฟื้นฟูสุขภาพ
ด้านการบริหารจัดการ
จัดระบบงาน กำลังคน ทรัพยากร งบประมาณ
ให้พร้อมสำหรับปฏิบัติงาน
ติดต่อประสานงานทั้งภายนอกและภายในองค์กร ให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพ เสร็จตามกำหนดเวลา
พยาบาลวางแผนดำเนินงาน
ประเมินผลงาน และแก้ไขข้อบกพร่อง ปรับเปลี่ยนแผนให้เหมาะสมกับการดำเนินงานขั้นต่อไป
ด้านวิชาการ
การวิจัย เพื่อให้ได้ความรู้ใหม่
การฝึกอบรมและเผยแพร่ความรู้แก่บุคลากรสุขภาพ
ด้านการปฏิบัติงาน
บริการครบถ้วน ผสมผสานทั้ง 4 ด้าน
บริการต่อเนื่อง ตั้งแต่เจ็บป่วย-หายป่วย
หน่วยงานที่มีบริการพยาบาลอนามัยชุมชน
ปฏิบัติงานเฉพาะโรค
เฉพาะความรับผิดชอบที่ตนสังกัด
พยาบาลสังกัดสาธารณสุขของกรุงเทพมหานคร
สังกัดหน่วยงานกระทรวงสาธารณสุข 12 เขต
ทั่วประเทศ
ดูแลสุขภาพของชุมชน
ระดับตำบล ชุมชนชนบท
พยาบาลประจำสถานีอนามัย
รับผิดชอบดูแลสุขภาพชุมชน
ตำบล ที่ตั้งของโรงพยาบาล
หน่วยเวชกรรมสังคมของโรงพยาบาลทั่วไป
โรงพยาบาลศูนย์ ฝ่ายส่งเสริมสุขภาพของโรงพยาบาลชุมชน
สมรรถนะการพยาบาลชุมชน
สมรรถนะในการปฏิบัติงาน
ด้านการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพชุมชน
ด้านการบริหารจัดการ
ด้านภาวะผู้นำ
ด้านวิชาการและการวิจัย
ด้านการทำงานร่วมกับชุมชน
ด้านกฎหมาย และจริยธรรม
สมรรถนะที่จำเป็น
เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ
ด้านความรู้
เกี่ยวกับบุคคล เช่น พัฒนาการ พฤติกรรมเสี่ยงภาวะเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการประกอบอาชีพ
เกี่ยวกับครอบครัว เช่น ประเภทของครอบครัว พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ
ศักยภาพของครอบครัว
เกี่ยวกับชุมชน เช่น โครงสร้าง วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม
ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ