Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์การสหประชาชาติ, สมาชิก
วิญญ์ จักรพิทักษ์ เลขที่8
พิมลักษณ์ เดชะกัน…
องค์การสหประชาชาติ
การก่อตั้ง
องค์การสหประชาชาติ ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.1945 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง โดยมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ กรุงนิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา มีสมาชิกประกอบด้วยประเทศเอกราชต่างๆ จากทุกภูมิภาคของโลก จากสมาชิกก่อตั้ง 51 ประเทศ
วัตถุประสงค์
เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติ และ ความมั่นคงระหว่างประเทศ
เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างประชาชาติทั้งปวง โดยยึดการเคารพต่อหลักการแห่งสิทธิอันเท่าเทียมกัน
เพื่อให้บรรลุถึงความร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม หรือ มนุษยธรรม และ การส่งเสริมสนับสนุนการเคารพต่อสิทธิมนุษยชน และ เสรีภาพขั้นมูลพื้นฐานสำหรับทุกคนโดยไม่เลือกปฎิบัติในเรื่องเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือ ศาสนา
เพื่อเป็นศูนย์กลางสำหรับการประสานงานของประชาชาติทั้งหลายให้กลมกลืนกันในอันที่จะบรรลุจุดหมายปลายทางร่วมกัน
1.สมัชชา
เป็นองค์กรที่มีอำนาจในการเรียกระดมพลจากรัฐสมาชิกในสหประชาชาติเพื่อจัดตั้งเป็นกองกำลังรักษาสันติภาพเข้าไปปฏิบัติหน้าที่รักษาสันติภาพในประเทศและสงครามต่างๆ
-
บทบาทหน้าที่
-
-
-
ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร
-
-
4.คณะมนตรีภาวะทรัสตี
มีหน้าที่
พิจารณารายงานของประเทศที่ทำหน้าที่ปกครองดินแดน และจัดทำข้อเสนอแนะ เพื่อเร่งรัดการให้ดินแดนในภาวะทรัสตีเจริญก้าวหน้ารวดเร็ว สามารถปกครองตนเองหรือเป็นเอกราชได้
ประกอบด้วย
ประเทศสมาชิกที่ปกครอง ดินแดนในภาวะทรัสตี
ประเทศที่เป็นสมาชิกถาวรคณะมนตรีความมั่นคง
และประเทศอื่นๆที่จำเป็น เพื่อให้ได้สัดส่วนของประเทศที่ปกครอง และมิได้ปกครองภาวะทรัสตีจำนวนเท่า ๆ กัน
-
5.ศาลโลก
-
หน้าที่หลัก
- ตัดสินคดีพิพาทระหว่างรัฐบาลของรัฐภาคีที่เป็นสมาชิกของ UN และเป็นประเทศที่ยอมรับอำนาจของศาลโลก
- วินิจฉัย ตีความ และให้คำปรึกษา ในประเด็นปัญหาข้อกฎหมายแก่องค์กรระหว่างประเทศที่ยอมรับอำนาจของศาลโลก
ประกอบด้วย คณะผู้พิพากษาต่างสัญชาติกันจำนวน 15 คน ที่ได้รับการคัดเลือกจากสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 9 ปี
การแต่งตั้ง เลขาธิการสหประชาชาติจะต้องได้รับมติจากสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติตามคำแนะนำของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่จะเป็นฝ่ายเสนอตัวบุคคลที่มารับตำแหน่งนี้ ซึ่งถือได้ว่าเป็นตำแหน่งที่มีบทบาทสูงสุดในองค์การสหประชาชาติ
สหประชาชาติจะดำรงตำแหน่งวาระละ 5 ปี โดยจะดำรงตำแหน่งคนละหนึ่งหรือสองสมัย และตามธรรมเนียมแล้ว จะต้องไม่เป็นบุคคลจากประเทศสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคง นอกจากนี้ก็เป็นที่เข้าใจกันว่า บุคคลที่จะมาดำรงตำแหน่งคนต่อไปจะต้องมาจากประเทศนอกทวีปของเลขาธิการคนล่าสุด
ผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการแห่งสหประชาชาติคนปัจจุบันคือ อังตอนียู กูแตรึช อดีตนายกรัฐมนตรีโปรตุเกส โดยเป็นเลขาธิการแห่งสหประชาชาติคนที่ 9
-
สมาชิก
วิญญ์ จักรพิทักษ์ เลขที่8
พิมลักษณ์ เดชะกัน เลขที่9
ธีรสูต การะเกตุ เลขที่10
ทยากร อาวรัตนกุล เลขที่20
ธีระนันท์ นครไทย เลขที่22
ประภาศิริ ปานันต์ เลขที่30