Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปวิชาวิศวกรรมจราจร วันที่ 5 มกราคม 2564, 60365086 นายสิปปกร…
สรุปวิชาวิศวกรรมจราจร วันที่ 5 มกราคม 2564
วัตถุประสงค์
ศึกษาปัญหา สภาพการจราจร
ลดอุบัติเหตุในชุมชนมหาวิทยาลัยนเรศวร
เพื่อให้มีแผนงานด้านความปลอดภัยของระบบจราจร
แก้ปัญหาจุดเสี่ยงอันตราย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ปัญหาการจราจร อุบัติเหตุและจุดเสี่ยงลดลง
มีความปลอดภัยบนท้องถนนเพิ่มขึ้น
มหาวิทยาลัยมีแผนงานสำหรับการแก้ไขปัญหาจราจรและนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมในอนาคต
องค์ประกอบและปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุจราจร
คน
ยานพาหนะ
ลักษณะทางกายภาพของถนน
สภาพแวดล้อม
สาเหตุของอุบัติเหตุ
ล้มเอง
ชนเสาไฟฟ้า
รถยนต์ชนรถจักรยานยนต์
รถจักรยานยนต์ชนรถจักรยานยนต์
ชนท้ายรถไฟฟ้า
ชนป้ายจราจร
ตกจากรถจักรยานยนต์
สถานที่เกิดเหตุ
ด้านหน้ามหาวิทยาลัย
ด้านหลังมหาวิทยาลัย
ภายในมหาวิทยาลัย
ด้านนอกมหาวิทยาลัย
หลักการทางวิศวกรรมที่่นำมาใช้
มาตรฐานหลักการในการติดตั้งสัญญาณไฟจราจร
ปริมาณจราจรในชั่วโมงเร่งด่วน
จำนวนอุบัติเหตุ
จำนวนคนเดินข้ามถนน
การกำหนดระยะมองเห็นบริเวณทางแยก
Approach Sight Triangle
เป็นระยะการมองเห็นบนท้องถนนก่อนเข้าสู่ทางแยก
Departure Sight Triangle
เป็นระยะมองเห็นตามแนวถนนสายหลักที่ผู้ขับขี่บนถนนสายรองสามารถตัดสินใจขับผ่านทางแยกหรือเลี้ยวเข้าสู่ทางหลักได้โดยไม่รบกวนการจราจรบนถนนสายหลัก
มาตรฐานป้ายจราจรและการติดตั้ง
ป้ายบังคับ
ป้ายเตือน
ป้ายแนะนำ
หลักการคำนวณรัศมีทางโค้ง
(Metric)
e+f = (v x v ) / g x R = (V x V) / 127 x R
(Traditional U.S. Units)
e+f = (v x v ) / g x R = (V x V) / 15 x R
Traffic Calming
การประยุกต์ใช้การยับยั้งจราจรบริเวณย่านชุมชน
เนินชะลอความเร็ว
เนินชะลอความเร็วแบบผิวบนแบนราบ
เส้นชะลอความเร็ว
วงเวียน
จุดขัดแย้ง
Diverging conflict
Merging conflict
Cross conflict
Weaving conflict
ข้อมูลการสำรวจภาคสนาม
แบบจำลองการคาดการณ์การเดินทางของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
พฤติกรรมการขับขี่รถจักรยานยนต์ของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
ปริมาณจราจรบริเวณทางแยก
ปัญหาที่การภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร
ปัญหาระเบียบวินัยจราจร
ปัญหาด้านลักษณะทางกายภาพของถนน
ปัญหาด้านความปลอดภัยในการสัญจร จุดเสี่ยงอันตราย
ปัญหาด้านการบำรุงรักษาและการติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมจราจร
ปัญหาความไม่เสมอภาคของผู้ใช้ถนนทุกประเภท
แนวทางแก้ไขปัญหา
จัดหาพื้นที่จอดรถให้เพียงพอ
การทาสีขาว เหลือง บริเวณที่หยุดรถรับ ส่ง รถไฟฟ้าและรถประจำทางสาย 12 ทุกจุด
ตรวจสอบแก้ไขปรับปรุงไฟส่องสว่างบริเวณทางแยก
กำหนดพื้นที่ห้ามจอดบนถนนสายหลักตลอดทั้งแนว
การกำหนดชื่อถนน
การกำหนดทาสี ตีเส้นทางม้าลายในบริเวณที่มีคนข้ามถนนเป็นจำนวนมากหรือเป็นประจำ
ก่อสร้างทางเท้าให้สมบูรณ์
ถ้าผิวหน้าถนนหลุดหายไปลึกไม่เกิน 3/8 นิ้ว ใชัวิธีซ่อมโดย Slurry Seal แต่ถ้าหายเกิน 3/8 นิ้ว จะต้องลง Tack Coat และปูทับด้วย Asphalt Concrete
ถ้าถนนมีรอยแตกให้ใช้ Rubber Asphalt หยอดในรอยแตกให้เต็ม
สาเหตุของปัญหาจราจรบริเวณทางแยก
คน+รถ
สภาพและลักษณะทางกายภาพของถนน
ระบบการควบคุม
บริเวณสามแยกที่เลี้ยวไปทางโรงพยาบาล ลักษณะสภาพของถนนมีความไม่ชัดเจนระหว่างถนนสายหลักและสายรอง
แนวทางแก้ไขปัญหา
ตีเส้นให้ชัดเจน
ปรับปรุงขยายจำนวนช่องการจราจรสำหรับรถทางตรงให้สามารถเบี่ยงชิดซ้ายและตรงเข้ามหาวิทยาลัย เพื่อป้องกันรถเลี้ยวขวาที่ไม่ยอดแสดงสัญญาณไฟเลี้ยว
ดัชนีชี้วัด
จำนวนจุดเสี่ยงอันตราย
จำนวนอุบัติเหตุลดลง
ปริมาณผู้ฝ่าฝืนกฏจราจร
สภาพคล่องตัวของการจราจร
ความพึงพอใจของผู้ใช้ถนนด้านความปลอดภัย
60365086 นายสิปปกร พิริยะอนันตกุล ชั้นปีที่ 4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา